Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8429
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง-
dc.contributor.authorทัศนัย ขำรักษา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-11-07T06:27:58Z-
dc.date.available2008-11-07T06:27:58Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741424124-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8429-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บโดยใช้โมเดลซิปปา เพื่อพัฒนา ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนิสิตปริญญาบัณฑิตสาขาวิชาสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และ 2) เปรียบเทียบคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนและหลังเรียนของกลุ่ม ตัวอย่างที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บโดยใช้กระบวนการเรียนการสอนซิปปาเพื่อพัฒนา ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนิสิตปริญญาบัณฑิตสาขาวิชาสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ อาจารย์ 23 คนและ นิสิตปริญญาบัณฑิต 379 คน ในสาขาวิชาสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษา นอกระบบ โรงเรียนคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาการเรียนการสอน ทางไกลในภาคปลาย ปีการศึกษา 2548 จำนวน 20 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บ โดยใช้โมเดลซิปปาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มี 11 ขั้นตอนที่สำคัญดังนี้ 1. ขั้นปฐมนิเทศ เพื่อเตรียมความพร้อมความเข้าใจในการเรียนบนเว็บ 2. ขั้นทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดทักษะการคิดอย่าง มีวิจารณญาณ 3. ขั้นสำรวจความรู้เดิม 4. ขั้นแสวงหาความรู้ใหม่ 5. ขั้นผู้เรียนศึกษาข้อมูล และสร้างความรู้ ความเข้าใจด้วยตนเอง 6. ขั้นผู้เรียนแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด 7. ขั้นผู้เรียนสรุปจัดระเบียบความรู้ และ วิเคราะห์การเรียนรู้ 8. ขั้นแสดงความรู้/ผลงาน 9. ขั้นผู้เรียนนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ประกอบด้วยขั้นตอน ย่อยคือ 9.1 การทำความเข้าใจปัญหา 9.2 การพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล 9.3 การใช้เหตุผลเชิง อนุมาน 9.4 การใช้เหตุผลเชิงอุปมาน 9.5 การตัดสินคุณค่า 9.6 การแปลความหมาย 9.7 การกำหนด ข้อสมมุติฐาน 9.8 การแก้ปัญหา 10. ขั้นทดสอบหลังเรียนเพื่อวัดทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ 11. ขั้นสรุปผล 2. ผลจากการทดลองใช้การเรียนการสอนบนเว็บโดยใช้โมเดลซิปปาเพื่อพัฒนาทักษะ การคิดอย่างมีวิจารณญาณพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีคะแนนการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to construct the web-based instructional model using the CIPPA model to develop critical thinking skills for Chulalongkorn University undergraduate students in social sciences and 2) to compare the pre-test and post-test critical thinking skills scores of subjects studied a lesson based on web-based instructional model using CIPPA instructional approach. The samples were 23 instructors and 379 undergraduate students in social sciences, Chulalongkorn University and 20 undergraduate students in Non-Formal Education program, Faculty of Education, Chulalongkorn University registered in "Distance Learning Course" in the second semester of the academic year of 2005. The findings showed that: 1. The web-based instructional model using CIPPA instructional approach for developing critical skills for undergraduate students in social sciences, Chulalongkorn University consists of 11 procedural steps: 1) orientation on web 2) pre-test on critical thinking skills 3) explore past experiences 4) acquire new knowleadge 5) study information and create self understanding 6) share knowledge and ideas 7) summarize, organize and analyze learning 8) present knowledge / assignment 9) implement knowledge: including nine sub-steps: clarify problem, consider the validity of information, perform deductive reasoning, perform inductive reasoning, judge the value, translate the meaning, propose hypothesis, solve problems 10) post-test on critical thinking skills and 11) summarize results. 2. It was found that the subjects learned from web-based instruction model using the CIPPA model had statistically significant at .05 level post-test critical thinking skills scores higher than pre-test scores.en
dc.format.extent2412110 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บen
dc.subjectการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลางen
dc.subjectทักษะทางการคิดen
dc.subjectจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- นักศึกษาen
dc.titleการนำเสนอรูปแบบการเรียนการสอนบนเว็บโดยใช้โมเดลซิปปาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนิสิตปริญญาบัณฑิตกลุ่มสาขาวิชาสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.title.alternativeA proposed web-based instructional model using the CIPPA Model to develop critical thinking skills for Chulalongkorn University undergraduate students in social sciencesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorOnjaree.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tatsanai.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.