Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8443
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวินัย ดะห์ลัน-
dc.contributor.authorสุพันธิตรา ชาญประเสริฐ-
dc.contributor.authorอรุณรัตน์ จันทนขจรฟุ้ง-
dc.contributor.authorมานิดา ฉายเพชรากร-
dc.contributor.authorโสภณา จาตนิลพันธ์-
dc.contributor.authorพิมพ์พร อินนพคุณ-
dc.contributor.authorสมเกียรติ ปิยะธีรธิติวรกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสหเวชศาสตร์-
dc.contributor.otherสภากาชาดไทย. ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ-
dc.contributor.otherสภากาชาดไทย. ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ-
dc.contributor.otherไม่มีข้อมูล-
dc.contributor.otherไม่มีข้อมูล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-11-13T07:12:59Z-
dc.date.available2008-11-13T07:12:59Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8443-
dc.descriptionการเตรียมไลโปโซมที่มีกรดไขมันโอเมก้า 3 ปริมาณสูง -- การวิเคราะห์กรดไขมัน -- การเตรียมอิมัลชันไขมัน FM-LRFE -- การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของการแช่เกล็ดเลือดใน FM-LRFE -- การแลกเปลี่ยนกรดไขมันระหว่างอิมัลชันไขมันและเกล็ดเลือดen
dc.description.abstractความเป็นมา กรดไขมันโอเมก้า 3 (n-3 PUFA) ช่วยลดอุบัติการณ์เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยการเข้าไปแทนที่กรดไขมันโอเมก้า 6 (n-6 PUFA) บนฟอสโฟลิปิด (PL) ของเมมเบรนเกล็ดเลือด ทำให้สัดส่วน n-3/n-6 PUFA บนเมมเบรนเปลี่ยนแปลงส่งผลต่อการสร้างพรอสตาแกลนดิน วัตถุประสงค์ เพื่อหาวิธีการเพิ่มสัดส่วน n-3/n-6 PUFA บนเมมเบรนของเกล็ดเลือดโดยแช่เกล็ดเลือดของคนปกติในอิมัลชันไขมันเตรียมจากปลาป่นซึ่งเป็นชนิดที่มี n-3 PUFA สูงใน PL วิธีการ นำปลาป่นชนิดต่างๆ มาศึกษาปริมาณ n-3 PUFA ใน PL จากนั้นนำ PL เตรียมเป็นอิมัลชันไขมัน (FM-LRFE) นำเกล็ดเลือดเข้มข้นที่มีจำนวนเซลล์ 1.86 x 10[superscript 9] เซลล์ต่อมิลลิลิตรแช่กับ FM-LRFE ที่ความเข้มข้นของ PL 0, 100, 300 และ 600 mg/dl เป็นเวลา 1 ชั่วโมงที่ 22 องศาเซลเซียส ทำการศึกษาภาวะที่เหมาะสมของการแช่และตรวจสอบกรดไขมันที่เปลี่ยนแปลงบนเมมเบรนของเกล็ดเลือด ผลการทดลอง การแช่เกล็ดเลือดกับ FM-LRFE ที่ระดับ 600 mg PL/dl ในภาวะไม่มีพลาสม่าสัดส่วนของ n-3/n-6 PUFA ของเกล็ดเลือดมีค่าเพิ่มขึ้นมากกว่าภาวะที่มีพลาสมา 1.8 เท่า กรดไขมันที่เปลี่ยนแปลงคงสภาพอยู่ได้ไม่น้อยกว่า 5 ชั่วโมง การแช่กับ FM-LRFE ความเข้มข้นต่างๆ สัดส่วนของ n-3/n-6 PUFA เพิ่มขึ้นตามสมการ Y = 0.16 + 3E-04X, p<0.001 เมื่อ X เป็นค่าความเข้มข้นของ PL ใน FM-LRFE และ Y คือสัดส่วนของ n-3/n-6 PUFA ที่ความเข้มข้น FM-LRFE 600 mg PL/dl สัดส่วน n-3/n-6 PUFA สูงขึ้น 2.43 เท่า n-3 PUFA สูงขึ้น 2.15 เท่าขณะที่ n-6 PUFA ลดลง 0.89 เท่า สรุปผลการทดลอง องค์ประกอบของ PUFA บนเมมเบรนของเกล็ดเลือดหรือ n-3/n-6 PUFA สามารถปรับเปลี่ยนได้ FM-LRFE ทำหน้าที่เป็นตัวจ่าย n-3 PUFA ให้กับ PL ของเกล็ดเลือด สัดส่วนของ n-3/n-6 PUFA ที่เพิ่มขึ้นบนเมมเบรนของเกล็ดเลือดคาดว่าจะมีประโยชน์ต่อการสร้างสารพรอสตาแกลนดินชนิดต่างๆ ส่งผลยับยั้งการเกิดลิ่มเลือดอันเป็นผลดีต่อการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือดen
dc.description.sponsorshipทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปี 2540en
dc.format.extent4491400 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศูนย์วิจัยไขมันและน้ำมันen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกรดไขมันโอเมกา 3en
dc.subjectเลซิตินen
dc.subjectฟอสโฟลิปิดen
dc.subjectไลโปโซมen
dc.subjectเกล็ดเลือดen
dc.titleการเสริมเมมเบรนของเซลล์เกล็ดเลือดที่มีกรดไขมันโอเมก้าสาม เพื่อวัตถุประสงค์พิเศษทางงานธนาคารโลหิตen
dc.title.alternativeEnrichment of platelet membranes with Omega-3 fatty acid containing phospholipoids for special purpose in blood transfusion medicineen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authordwinai@netserv.ac.th, winaidahlan@yahoo.com-
dc.email.authorsupantitra@chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorPsomkiat@Chula.ac.th-
Appears in Collections:All - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Winai_enr.pdf4.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.