Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8735
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปราจีน วีรกุล-
dc.contributor.authorสันติ ประสิทธิ์ผล-
dc.contributor.authorจุฬา สิงห์ลอ-
dc.contributor.authorจันทร์เพ็ญ สุวิมลธีระบุตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสัตวแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-01-29T06:38:39Z-
dc.date.available2009-01-29T06:38:39Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8735-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการชะล้างมดลูกด้วยน้ำเกลือผสมยาปฏิชีวนะ และผลต่ออัตราการผสมติดหลังการรักษาเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม (การทดลองที่ 1 ฟาร์มโคนมรายย่อย) โคนมผสมซ้ำที่ได้รับการรักษาโดยวิธีนี้ สามารถติดตั้งท้องภายหลังการผสมเทียมแล้ว 3 ครั้งมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) กล่าวคือ โคกลุ่มรักษา จำนวน 39 ตัว ตั้งท้อง 22 ตัว (56.4%) และโคกลุ่มควบคุมจำนวน 39 ตัว ตั้งท้อง 12 ตัว (30.8%) ผลการทดลองแก้ไขการผสมซ้ำในฟาร์มโคนมขนาดใหญ่ (การทดลองที่ 2) ให้ผลการรักษาได้ดีไม่แตกต่างเช่นกัน โคนม 12 ใน 19 ตัว (63.2%) พบตั้งท้องภายหลังได้รับการผสมเทียม 3 ครั้งหลังการรักษา ผลเพาะเชื้อแบคทีเรียและทดสอบความไวของเชื้อต่อยาปฏิชีวนะ พบเชื้อแบคทีเรียจำนวนทั้งสิ้น 77 เสตรน ส่วนใหญ่เป็นแบคทีเรียที่ไม่ทำให้เกิดโรค (non-pathogenic organisms) และพบว่ายาปฏิชีวนะที่เชื้อแบคทีเรียไวต่อการทดสอบดี ได้แก่ Oxytetracycline, Gentamicin, Neomycin, ส่วนยาปฏิชีวนะที่เชื้อไวต่อการทดสอบไม่ดี ได้แก่ Tetracycline, Penicillin, Colistin sulfate และ Streptomycin การวิจัยครั้งนี้แสดงว่าวิธีการรักษาโคนมที่มีปัญหาผสมซ้ำโดยวิธีการชะล้างมดลูก ด้วยน้ำเกลือผสมยาปฏิชีวนะ สามารถแก้ไขให้โคนั้นสามารถติดตั้งท้องได้ดีภายลังที่ได้รับการผสมเทียม และเหมาะสมในการปฏิบัติภาคสนามen
dc.description.abstractalternativeThis study was conducted to demonstrate the outcome in term of pregnancy rate in repeat breeding cows after treatment with normal saline combined with antibiotic by uterine flushing technique (trial #1, small farm holders). Twenty two out of 39 (56.4%) treated repeat breeding cows became pregnant within three artificial inseminations. Whereas 12 out of 39 (30.8%) non-treated cows (control) become pregnant within three artificial inseminations. The pregnancy rate in treated cows was statistically higher than the control ones (P<0.05). Similar finding on pregnancy rate was also observed in a large dairy farm (trial #2). Twelve out of 19 repeat breeding cows (63.2%) become pregnant within 3 inseminations after the treatment. Seventy seven, non-pathogenic bacterial strains were isolated from uterine content of all experimented cows. Most of them were sensitive to oxytetracycline, gentamicin and neomycin. However, low sensitivity test were also observed with tetracycline, penicillin, colistin sulfate and streptomycin. These findings indicate the benefit in term of pregnancy rate by using normal saline combine with antibiotic for uterine flushing in repeat breeding cows.en
dc.description.sponsorshipทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปี 2538en
dc.format.extent10858599 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโคนม -- การสืบพันธุ์en
dc.subjectยาปฏิชีวนะen
dc.subjectมดลูกen
dc.titleการแก้ไขปัญหาการผสมซ้ำในโคนมโดยวิธีชะล้างมดลูกด้วยน้ำเกลือผสมยาปฏิชีวนะ : รายงานผลการวิจัยen
dc.title.alternativeUterine flushing therapy in repeat breeder dairy cows using normal saline and antibiotic solutionen
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorprachin.v@chula.ac.th-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Vet - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prachin_uter.pdf10.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.