Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8972
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุดาพร ลักษณียนาวิน-
dc.contributor.authorเดชา เวศยาภรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-06-09T11:22:55Z-
dc.date.available2009-06-09T11:22:55Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9740300332-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/8972-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางวากยสัมพันธ์ที่แสดงระดับมากน้อยของปฏิสัมพันธ์ในภาษาป้อนเข้าของผู้สอนในชั้นเรียนภาษาอังกฤษ และความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของภาษาป้อนเข้าของผู้สอนกับสัมฤทธิผลทางภาษาของผู้เรียน ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้มาจากการบันทึกเสียงของกลุ่มตัวอย่างผู้สอนภาษาอังกฤษจำนวน 2 คน และคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของกลุ่มตัวอย่างผู้เรียน 15 คู่ ผลการวิจัยพบว่ารูปภาษาที่เร้าปฏิสัมพันธ์ ได้แก่ รูปประโยคคำถาม และรูปประโยคคำสั่งตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบปริมาณการใช้รูปประโยคทั้งสองดังกล่าว พบว่าผู้สอนคนที่ 2 ใช้รูปประโยคคำถามมากกว่า ส่วนผู้สอนคนที่หนึ่งใช้รูปประโยคคำสั่งมากกว่า เมื่อเปรียบเทียบผลต่างของคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนทั้งสองกลุ่มพบว่า ผู้เรียนที่เรียนกับผู้สอนคนที่ 1 มีสัมฤทธิผลของการเรียนดีกว่าผู้เรียนที่เรียนกับผู้สอนคนที่สอง ผลของการวิจัยเป็นไปในลักษณะที่ตรงกันข้ามกับสมมติฐานที่ว่า ภาษาป้อนเข้าที่มีลักษณะเร้าปฏิสัมพันธ์จะมีผลในเชิงบวกต่อสัมฤทธิผลทางภาษาของผู้เรียนen
dc.description.abstractalternativeThis study is aimed at investigating syntactic character showing the degree of interaction in teachers input language in English language classes and the relationship between teachers' input language and students' language achievement. The data on which the analysis is based are collected from two teachers, teaching English, by tape recording and from the scores of pretest and posttest of the fifteen pairs of students. It is found that there are two types of interactive sentence type, interrogative and imperative sentences. By comparing, the second teacher used this type of sentence more than the first teacher. The difference of the two groups of student's pretest and posttest scores showed that the achievement of the first teacher's students is better. That is the result of this research contradicts the hypothesis that the interactive input language of the teacher has a positive effect to students' language achievement.en
dc.format.extent7038716 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.209-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอนen
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาษาป้อนเข้ากับสัมฤทธิผลของผู้เรียนในชั้นเรียนภาษาอังกฤษen
dc.title.alternativeThe relationship between input language and students' language achievement in English language classesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภาษาศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSudaporn.L@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.209-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Decha.PDF6.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.