Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9122
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปุณณรัตน์ พิชญไพบูลย์-
dc.contributor.authorธีระพงษ์ พิศาลบูรณะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-06-24T04:39:41Z-
dc.date.available2009-06-24T04:39:41Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741310986-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9122-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ ในด้านความรู้ในเนื้อหาของศิลปวิจารณ์ และแนวคิดในการประเมินคุณค่าของผลงาน ของอาจารย์และนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายในหลักสูตรศิลปะของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ อาจารย์ผู้สอนวิชาศิลปวิจารณ์ จำนวน 9 คน และนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายในหลักสูตรศิลปะ ภาคการศึกษาปลาย ประจำปีการศึกษา 2543 จำนวน 197 คน ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และมหาวิทยาลัยบูรพา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบตรวจสอบรายการ แบบประเมินค่า และแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป (SPSS) ผลการวิจัยพบว่า อาจารย์ผู้สอนวิชาศิลปวิจารณ์และนักศึกษา มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ ด้านความรู้ในเนื้อหาของศิลปวิจารณ์ ได้แก่ เนื้อหาทฤษฎีศิลปวิจารณ์ กระบวนการวิจารณ์ สื่อและวิธีการเรียนการสอน และการประเมินผล โดยส่วนรวมอยู่ในระดับเห็นด้วย สำหรับด้านแนวคิดในการประเมินคุณค่าของผลงานตามทฤษฎีสุนทรียศาสตร์ของ อาเธอร์ เอฟแลนด์ ได้แก่ ทฤษฎีออบเจคทีฟ ทฤษฎีเอกซ์เพรสซีฟ และทฤษฎีแพรกเมติก โดยส่วนรวมอยู่ในระดับไม่แน่ใจ ส่วนทฤษฎีมิเมติกนั้น อาจารย์และนักศึกษา มีความคิดเห็นโดยส่วนรวมอยู่ในระดับไม่เห็นด้วย และไม่แน่ใจ ตามลำดับ สาระสำคัญของข้อเสนอแนะสรุปได้ว่า ควรมีการนำทฤษฎีการวิจารณ์ต่างๆ มาใช้ในการเรียนการสอนวิชา ศิลปวิจารณ์และไม่จำเป็นต้องยึดแนวทฤษฎีใดเพียงทฤษฎีเดียว ซึ่งสามารถนำหลายทฤษฎีมาผสมผสานในการวิจารณ์ได้ นอกจากนี้ในการวิจารณ์และประเมินคุณค่าของผลงานนั้น ผู้วิจารณ์จำเป็นต้องศึกษาทฤษฎีต่างๆ ให้ละเอียด และควรมีความรู้ ประสบการณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งไม่ควรมีอคติต่อผลงานศิลปะหรือศิลปินผู้สร้างผลงานen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the opinions of instructors and last year students in art curriculum of public higher education institutions under the Ministry of University Affairs concerning art criticism which included of two aspects : Content of art criticism and Concept of evaluation visual arts value. The population of this research were 9 instructors and 197 last year students in art curriculum second semester class of 2000 from Chulalongkorn University, Srinakharinwirot University at Prasarnmit, Silpakorn University, Cheangmai University, Khon Kaen University, Prince of Songkla University (Pattani Campus) and Burapha University. The research instrument was a set of survey questionnaire which consisted of check list, rating scale, and open-ended items. The data obtained was analized by means of percentage, arithematic means and standard deviation by statistical package for the social sciences (SPSS). The research results revealed that the instructors and students had the opinion concerning art criticism as follow ; a) on the aspect of content of art criticism on art criticism theory, critical process, teaching methods and materials, and measurement and evaluation were rated at the level of agreement; b) on the aspect of concept of evaluation visual arts value by means of Arthur Efland's aesthetic theory on objective theory, expressive theory and pragmatic theory, the instructors and students were rated at the level of uncertain. However, the instructors and students were rated mimetic theory at the level of no agreement and uncertain respectively. According to the research findings, it was suggested that the instructors should applied mixed criticism theories rather than only one theory in art criticism courses. Besides, critical and evaluation of visual arts value, art critics need to study theories completely and gain knowledge and other experiences which related this field. The art critics also has no prejudice to artist or artistry.en
dc.format.extent2593080 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectทัศนศิลป์ -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา)en
dc.subjectศิลปวิจารณ์en
dc.titleความคิดเห็นเกี่ยวกับการวิจารณ์ผลงานทัศนศิลป์ของอาจารย์และนักศึกษาชั้นปีสุดท้ายในหลักสูตรศิลปะของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ สังกัดทบวงมหาวิทยาลัยen
dc.title.alternativeOpinions of instructors' and last year students' visual arts critique in art curriculum of public higher education institutions under the Ministry of University Affairsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineศิลปศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPoonarat.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Teerapong.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.