Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/93
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาพรรณ โคตรจรัส-
dc.contributor.authorนันทินี ศุภมงคล, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2006-05-27T06:34:24Z-
dc.date.available2006-05-27T06:34:24Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745314285-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/93-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาความวิตกกังวล การสนับสนุนทางสังคม และกลวิธีการเผชิญปัญหาของนิสิตนักศึกษาชั้นปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 4 จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 679 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบวัดความวิตกกังวล แบบวัดการสนับสนุนทางสังคม และแบบสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. นิสิตนักศึกษาชั้นปีที่ 4 มีความวิตกกังวลต่อสถานการณ์ และความวิตกกังวลประจำตัวน้อย และใช้กลวีการเผชิญปัญหาแบบมุ่งจัดการกับปัญหา และแบบแสวงหาการสนับสนุนทางสังคมมาก และใช้กลวิธีการเผชิญปัญหาแบบหลีกหนีค่อนข้างน้อย 2. นิสิตนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ได้รับการสนับสนุนทางสังคมโดยรวม และในด้านอารมณ์ และด้านข้อมูลข่าวสารเป็นอย่างมาก ได้รับการสนับสนุนทางสังคมด้านการประเมิน และด้านสิ่งของ แรงงาน และการเงินในระดับค่อนข้างมาก และใช้กลวิธีการเผชิญปัญหาแบบหลีกหนีน้อยกว่านิสิตนักศึกษาชาย 4. นิสิตนักศึกษาสาขาวิชาสังคมศาสตร์มีความวิตกกังวลต่อสถานการณ์ มากกว่านิสิตนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ และมนุษยศาสตร์ 5. นิสิตนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพได้รับการสนับสนุนทางสังคมด้านอารมณ์น้อยกว่าและใช้กลวิธีการเผชิญปัญหาแบบแสวงหาการสนับสนุนทางสังคมน้อยกว่านิสิตนักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ และได้รับการสนับสนุนทางสังคมโดยรวม และในด้านการประเมินน้อยกว่านิสิตนักศึกษาสาขาวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ได้รับการสนับสนุนทางสังคมด้านสิ่งของ แรงงาน และการเงินน้อยกว่านิสิตนักศึกษาสาขาวิชามนุษยศาสตร์ 6. นิสิตนักศึกษาที่พักอาศัยที่หอพักนิสิตมีความวิตกกังวลต่อสถานการณ์ และความวิตกกังวลประจำตัวน้อยกว่าและใช้กลวิธีการเผชิญปัญหาแบบมุ่งจัดการกับปัญหามากกว่านิสิตนักศึกษาที่พักอาศัยที่บ้าน และใช้กลวิธีการเผชิญปัญหาแบบแสวงหาการสนับสนุนทางสังคมน้อยกว่านิสิตนักศึกษาที่พักอาศัยที่อื่นๆ 7. นิสิตนักศึกษาที่มีภูมิลำเนาอยู่ในต่างจังหวัดมีความวิตกกังวล ต่อสถานการณ์น้อยกว่า และได้การสนับสนุนทางสังคมด้านอารมณ์ และด้านสิ่งของ แรงงานและการเงิน และใช้กลวิธีการเผชิญปัญหาแบบมุ่งจัดการกับปัญหามากกว่านิสิตนักศึกษาที่มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร 8. ความวิตกกังวลมีความสัมพันธ์ทางลบกับการสนับสนุนทางสังคม และกลวิธีการเผชิญปัญหาแบบมุ่งจัดการกับปัญหา และมีความสัมพันธ์ทางบวกกับกลวิธีการเผชิญปัญหาแบบหลีกหนี และกลวิธีการเผชิญปัญหาแบบหลีกหนีไม่มีความสัมพันธ์กับการสนับสนุนทางสังคม 9. กลวิธีการเผชิญปัญหาแบบมุ่งจัดการกับปัญหา แบบแสวงหาการสนับสนุนทางสังคม และการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกen
dc.description.abstractalternativeThis research investigated the anxiey, social support and coping strategies of fourth-years university students. Participants were 679 undergraduate students from Chulalongkhon University. The instruments used were the State and Trait Anxiety Inventory (STAI Form-Y), the Social Support Questionnaire and the Coping Scale. Data was analyzed using a two-way ANOVA design followed by post-hoc multiple comparisons with Dunnett's T3 test and Pearson correlation coefficient. The major findings were as follows: 1. Fourth-year university students reported mild state and trait anxiety, used more problem-focused and social support-seeking strategies and used moderately low avoidance strategies. 2. Fourth-year university students obtained high emotional, information and total social supports and obtained moderately high appraisal and material supports. The students obtained high social supports from their mothers, fathers and friends. 3. Female students obtained more emotional, information and total social supports, used more social support-seeking strategies and used less avoidance strategies than male students. 4. Social science students reported higher state anxiety than physical science, biological science and humanity students. 5. Physical science students obtained less emotional support and used less social support-seeking strategies than biological science, social science and humanity students; obtained less appraisal and total social supports than social science and humanity students and obtained less material support than humanity students. 6. Students lived on campus reported less state and trait anxiety and used more problem-focused strategies than those living at home, and used less social support-seeking strategies than those loved off campus. 7. Students resided in up-country reported less state anxiety and obtained more emotional and material supports and used more problem-focused strategies than those resided in Bangkok. 8. Anxiety was negatively related to social support and problem-focused strategies, and positively related to avoidance strategies, but there was no significant relationship between avoidance strategies and social support.9. The correlation coefficient indicated significantly positive correlation among problem-focused strategies, social support-seeking strategies and social support.en
dc.format.extent2300680 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความวิตกกังวลen
dc.subjectการสนับสนุนทางสังคมen
dc.subjectการปรับตัว (จิตวิทยา)en
dc.titleความวิตกกังวล การสนับสนุนทางสังคมและกลวิธีการเผชิญปัญหาของนิสิตนักศึกษาen
dc.title.alternativeAnxiety, social support, and coping strategies of university studentsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorksupapun@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nanthini.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.