Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9508
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุกัญญา สุจฉายา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-03T08:28:29Z-
dc.date.available2009-08-03T08:28:29Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.citationวารสารภาษาและวรรณคดีไทย. 18(ธ.ค. 2544),44-52en
dc.identifier.issn0857-037x-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9508-
dc.description.abstractบทความนี้ต้องการเสนอความคิดในการรู้รักษาตัวรอดของคนไทยที่ได้รับผ่านมาทางพระพุทธศาสนาและถ่ายทอดไว้ในภาษาและวรรณคดีไทย ผลจากการศึกษาวรรณคดี 3 เรื่อง คือ บทละครนอกเรื่องสังข์ทองสำนวนรัชกาลที่ 2 บทเสภาเรื่องขุนช้าง-ขุนแผน และนิทานคำกลอนเรื่องพระอภัยมณีของสุนทรภู่ พบว่า ตัวละครในทุกเรื่องยอมรับว่า ความสุขและความทุกข์เป็นของคู่กัน ไม่มีสภาวะใดคงที่ ความทุกข์เกิดจากกรรม วิธีดับทุกข์ในขณะที่ต้องเผชิญวิบากกรรมนั้นก็คือ “การรักษาตัว” โดยการครองตัวให้อยู่ในศีลธรรม ด้วยความอดทน เพื่อหวังว่าบุญกุศลที่ทำมาจะทำให้กรรมค่อยๆหมดไป ความอดทนรอดูผลระยะยามเป็นภูมิปัญญาหนึ่งที่ช่วยให้คนไทยสามารถเผชิญด้วยเผชิญปัญหาด้วยความอดทนและไม่รีบร้อน นอกจากนี้กวีไทยยังให้ความสำคัญกับจิตใจเป็นพิเศษ จึงปรากฏคำที่แสดงอารมณ์ความรู้สึกของ “ใจ” ที่หลากหลายen
dc.format.extent1171680 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวรรณคดีไทย -- การวิเคราะห์en
dc.titleภูมิปัญญาในการรู้รักษาตัวรอด : พินิจจากวรรณคดีen
dc.typeArticlees
dc.email.authorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Arts - Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sukanya.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.