Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9590
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย จิตะพันธ์กุล-
dc.contributor.advisorเพียร โตท่าโรง-
dc.contributor.authorพชรพล สินธุวงศานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-04T06:10:38Z-
dc.date.available2009-08-04T06:10:38Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743334998-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9590-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractนำเสนอการประมาณที่ตั้งแหล่งกำเนิดสัญญาณจากการวัดมุมทิศ เมื่อใช้เครื่องดักรับหาทิศแบบเคลื่อนที่และแบบอยู่กับที่ โดยใช้อัลกอริทึมแบบไอเอ็มเอ็ม ในกรณีที่ในระบบมีทั้งสัญญาณรบกวนที่เป็นแบบเกาส์ และไม่เป็นแบบเกาส์ปะปนเข้ามากับมุมทิศที่ได้จากการวัด โดยหลักการทำงานของอัลกอริทึมแบบไอเอ็มเอ็ม ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนหลักคือ การผสมหรือกำหนดค่าอินพุทเริ่มต้น การผ่านวงจรกรอง การปรับค่าความน่าจะเป็น และการรวมค่าเอาท์พุท โดยการทดสอบจะใช้การจำลองแบบบนเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพเรื่องความแม่นยำและความทนทาน ของวิธีการที่นำเสนอกับวิธีการเดิม จากผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าอัลกอริทึมแบบไอเอ็มเอ็ม เป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพและทนต่อสัญญาณรบกวนได้เป็นอย่างดี เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้วงจรกรองคาลมานแบบยืดขยาย ในกรณีที่ระบบมีรูปแบบของการแจกแจงของสัญญาณรบกวนที่ไม่เป็นแบบเกาส์en
dc.description.abstractalternativeProposes an emitter localization estimation from bearing angle measurements of moving observers and passive multiple fixed observers using the Interacting Multiple Model (IMM) algorithm, the measurement model of which contains both gaussian noise and non-gaussian noise. It is shown by simulation results that the IMM which consists of four major steps: interacting, filtering, mode probability update and output generation, is a very effective approach and performs more robustly when compared to the Extended Kalman Filter (EKF) in case of non-gaussian noise distribution model.en
dc.format.extent953857 bytes-
dc.format.extent736741 bytes-
dc.format.extent968606 bytes-
dc.format.extent2701067 bytes-
dc.format.extent750902 bytes-
dc.format.extent796828 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสัญญาณรบกวนทางอิเล็กทรอนิกส์ -- การป้องกันen
dc.subjectอัลกอริทึมen
dc.titleการประมาณที่ตั้งแหล่งกำเนิดสัญญาณ ที่ทนต่อสัญญาณรบกวนจากการวัดมุมทิศ โดยใชัอัลกอริทึมแบบไอเอ็มเอ็มen
dc.title.alternativeRobust emitter localization estimation from bearing angle measurements by the interacting multiple model algorithmen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomchai.J@chula.ac.th-
dc.email.advisorptotarong@yahoo.com-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pasharapol_Si_front.pdf931.5 kBAdobe PDFView/Open
Pasharapol_Si_ch1.pdf719.47 kBAdobe PDFView/Open
Pasharapol_Si_ch2.pdf945.9 kBAdobe PDFView/Open
Pasharapol_Si_ch3.pdf2.64 MBAdobe PDFView/Open
Pasharapol_Si_ch4.pdf733.3 kBAdobe PDFView/Open
Pasharapol_Si_back.pdf778.15 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.