dc.contributor.author |
อัจฉรา วงศ์โสธร |
|
dc.contributor.author |
ศิริพร พงษ์สุรพิพัฒน์ |
|
dc.contributor.author |
พิมพ์ฤดี นาควิโรจน์ |
|
dc.contributor.author |
วิภาดา อิงคนาท |
|
dc.contributor.author |
เปรมจิตต์ ศรีเมฆานนท์ |
|
dc.contributor.author |
เยาวรีย์ ประเสริฐภักดี |
|
dc.contributor.author |
ยุพิน โภคฐิติยุกต์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา |
|
dc.date.accessioned |
2009-11-19T05:13:51Z |
|
dc.date.available |
2009-11-19T05:13:51Z |
|
dc.date.issued |
2536 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11694 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์วิธีการตรวจแก้งานเขียนภาษาอังกฤษที่เหมาะสมที่สุดและมีประสิทธิภาพที่สุดในการปรับปรุงงานเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษาและ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบวิธีการตรวจแก้งานเขียนภาษาอังกฤษที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการพัฒนาการเขียนภาษาอังกฤษทั้งระยะสั้นและระยะยาวของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา กลุ่มพลวิจัยได้มาโดยที่อาจารย์ผู้สอนประจำกลุ่มอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการประกอบด้วยนักศึกษาชั้นปีที่ 1, 2 และ 3 จากมหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐบาลและเอกชนจำนวน 8 กลุ่ม รวม 177 คน แบ่งเป็นกลุ่มเก่ง ปานกลาง และอ่อน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามเกี่ยวกับกลวิธีที่นักศึกษาใช้ในการปรับปรุงงานเขียนภาษาอังกฤษภายหลังจากที่ได้รับงานเขียนที่ครูได้ตรวจแก้แล้วและถามความคิดเห็นเกี่ยวกับ วิธีแก้งานแต่ละวิธีซึ่งมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่าแบบไลเกิร์ตและแบบปลายเปิด หัวข้อที่ให้นักศึกษาเขียนก่อนและหลังการตรวจงานแต่ละวิธีเพื่อศึกษาพัฒนาการระยะสั้นและระยะยาว และเกณฑ์การให้คะแนนงานเขียนของ TOEFL (TWE) และ Cooper การวิเคราะห์แบบสอบถามใช้วิธีการคำนวณหาค่าความถี่และค่าร้อยละ การวิเคราะห์งานเขียนใช้วิธีการคำนวณหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย และทดสอบค่า t (t-test) ส่วนการวิเคราะห์การสัมภาษณ์และสังเกตพฤติกรรมใช้การวิเคราะห์หาแนวโน้มและเขียนสรุป ผลการวิจัยสรุปได้ดังต่อไปนี้ 1. การวิเคราะห์แบบสอบถามพบว่าในด้านกลวิธีปรับปรุงงานเขียนเมื่อผ่านการตรวจแก้ โดยวิธีต่าง ๆ ผู้เรียนส่วนใหญ่ชอบวิธีการตรวจแก้วิธีที่ 1 คือผู้สอนขีดฆ่าและเขียนแก้ไขให้ใหม่ และมีความคิดเห็นว่าวิธีการตรวจแก้งานเขียนที่ดีที่สุดเป็นวิธีที่ 4 คือผู้สอนอธิบายที่ผิดเป็นรายบุคคล 2. การวิเคราะห์การสัมภาษณ์และการสังเกตพฤติกรรมในการเขียน พบว่าวีการตรวจแก้งานวิธีที่ 1 และวิธีที่ 4 ช่วยให้ผู้เรียนสามารถแก้ไขปรับปรุงงานเขียนได้ดียิ่งขึ้น ส่วนวิธีการตรวจแก้งานวิธีที่ 2 คือผู้สอนขีดเส้นใต้ที่ผิดและนำสิ่งที่ผู้เรียนทำผิดร่วมกันมาอธิบายในชั้นเรียนและวิธีการตรวจแก้งานวิธีที่ 2 คือผู้สอนใช้สัญลักษณ์กำกับที่ผิดและใช้คำอธิบายสัญลักษณ์และตัวอย่างวิธีแก้ไขนั้น พบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเชื่อมโยงคำอธิบายของครู และไม่เข้าใจสัญลักษณ์ที่ใช้ในการตรวจแก้งานเขียนได้อย่างชัดเจนเพียงพอ 3. การประเมินผลงานเขียนโดยใช้เกณฑ์ตรวจมาตรฐาน พบว่าวิธีการตรวจแก้งานวิธีที่ 1 และวิธีที่ 4 ช่วยให้ผู้เรียนสามารถปรับปรุงงานเขียนทั้งระยะสั้นและระยะยาวได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ส่วนวิธีการตรวจแก้วิธีที่ 4 ช่วยให้ผู้เรียนทุกลุ่มมีพัฒนาการในการเขียนทั้งระยะสั้นและระยะยาวในทุกด้าน 4. นักศึกษากลุ่มอ่อนโดยเฉลี่ยมีพัฒนาการสูงกว่ากลุ่มเก่งและกลุ่มปานกลางอีกทั้งมีการกระจายของคะแนนแตกต่างกันมากที่สุด |
en |
dc.description.abstractalternative |
This research aimed at finding the most appropriate and efficient method of correcting English written works for Thai undergraduate students, and to compare the short-term and long-term improvements in English writing resulted from the application of each correction method. The subjects in the research were students of teachers who volunteered to participate in the project, consisting of eight groups of 177 first, second, and third year students from governmental and private universities, divided into three groups of high, middle, and low in terms of their English writing ability. The research instruments consisted of: (1) a Likert-type questionnaire and open-ended statements concerning strategies that the students used for improving their written works after their teachers had used each correction method including their opinions about writing correction, (2) writing topics assigned as pre-post measures of students’ writing performance indicating their short-term and long-term improvements, and (3) two criteria for assessing written works, i.e., the TOEFL TWE (Test of Written English) bands and Cooper’s ESL Composition Profile. Frequency counts and percentage were used in the analyses of the questionnaires while arithmetic means, standard deviation, coefficients of variation and t-tests were employed in the analyses of the subjects’ written performance. Results from observation and interviews recorded by teachers were qualitatively analysed to establish trends and conclusions. Research findings could be summarized as follows: 1. Results of questionnaire analyses indicated that the majority of subjects preferred the correction method by which teachers crossed out the mistakes and made corrections for them to other methods, and that they thought that the best method was individual feedback given by the teachers. 2. Results of observation and interviews indicated that the afore-mentioned methods helped improve students’ writing whereas the method by which teachers only underlined the errors and explained students’ common mistakes in front of the class and the method by which correction symbols were used ware not as effective because the students could not relate teachers’ explanation to their own works and neither could they adequately understand the symbols that the teachers used on their works. 3. Results of evaluation of the subjects’ written works indicated that the “right-on correction” was most effective in improving students’ writing for both short-term and long-term gains, and that the “individual feedback” method best helped students at all English writing ability levels to improve their English writing skills 4. On the average the “low” groups exhibited highest gains as well as greatest variation in the scores obtained. |
en |
dc.description.budget |
55,415 บาท |
en |
dc.description.sponsorship |
เงินอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน ปี 2531 |
en |
dc.format.extent |
53546591 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
นักศึกษา |
en |
dc.subject |
ภาษาอังกฤษ -- การเขียน |
en |
dc.title |
การวิจัยเพื่อหาวิธีการแก้ไขข้อผิดในการเขียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาไทยที่เหมาะสมที่สุด :|bรายงานการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Effective methods for correcting writing errors in English made by Thai students : an exploratory study |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
archara_w@hotmail.com |
|
dc.email.author |
siriporn.p@chula.ac.th |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|