Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10011
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชัยศักดิ์ หรยางกูร-
dc.contributor.authorนรีลักษณ์ แพไชยภูมิ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-13T07:52:28Z-
dc.date.available2009-08-13T07:52:28Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741738315-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10011-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractศึกษาแนวทางการระงับข้อพิพาทโดยวิธีการอนุญาโตตุลาการ ตามพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ.2545 และแนวทางของกฎหมายในต่างประเทศ ซึ่งได้รับการยอมรับว่ามีลักษณะเป็นสากล โดยเน้นศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายต้นแบบ ว่าด้วยการอนุญาโตตุลาการทางการค้าระหว่างประเทศ ของคณะกรรมาธิการแห่งสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ เพื่อศึกษาถึงบทบัญญัติในพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 ที่มีความเป็นสากลและศึกษาถึงบทบัญญัติบางประการที่อาจเป็นอุปสรรค หรือก่อให้เกิดปัญหาในการบังคับใช้ พร้อมกับเสนอแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 ให้เป็นที่ยอมรับจากคู่กรณีในนานาอารยะประเทศ จากการศึกษาพบว่าพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 มีความเป็นสากลอยู่มาก โดยข้อความส่วนมากอิงกับบทบัญญัติของกฎหมายต้นแบบ ว่าด้วยการอนุญาโตตุลาการทางการค้าระหว่างประเทศ ของคณะกรรมาธิการแห่งสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายการค้าระหว่างประเทศ แต่ยังมีบทบัญญัติบางประการที่ผู้เขียนพบว่า ไม่สอดคล้องกับสากลประเทศ อันอาจทำให้เกิดอุปสรรคและเป็นปัญหาต่อการบังคับใช้ได้ โดยผู้เขียนได้ตั้งข้อสังเกตไว้ 6 ประการคือ เรื่องการอนุญาโตตุลาการในสัญญาทางปกครอง เรื่องความรับผิดของอนุญาโตตุลาการ เรื่องการมิได้แบ่งแยกกฎหมายอนุญาโตตุลาการ ออกเป็นกฎหมายอนุญาโตตุลาการภายในประเทศ และกฎหมายอนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ การขอใช้วิธีคุ้มครองชั่วคราวในการอนุญาโตตุลาการ และเรื่องผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายกับการเป็นอนุญาโตตุลาการ พร้อมนี้ผู้เขียนได้เสนอความคิดเห็นของผู้เขียน ที่มีต่อปัญหาดังกล่าวเพื่อเป็นแนวทางแก้ไขปัญหาต่อไป ผู้เขียนจึงได้ข้อสรุปที่สอดคล้องกับสมมติฐานของผู้เขียนว่า แม้พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 เป็นบทบัญญัติที่มีความเป็นสากลอยู่มาก แต่ยังมีบทบัญญัติบางประการที่ไม่เป็นสากล อันอาจเป็นอุปสรรคต่อการบังคับใช้ได้ ซึ่งหากได้รับการพิจารณา ปรับปรุง แก้ไข จะส่งผลให้พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545 มีความเป็นสากลมากยิ่งขึ้น และเป็นที่ยอมรับจากนานาอารยะประเทศ อันทำให้การอนุญาโตตุลาการของประเทศไทยเป็นที่นิยมแพร่หลาย ส่งผลให้มีรายได้เข้าประเทศen
dc.description.abstractalternativeTo study the dispute resolution under the Arbitration Act B.E. 2545 of Thailand (the "Act"), and certain legal developments which are internationally accepted elsewhere.The study focuses on a comparison between the Act and the UNCITRAL Model Law on International Commercial Arbitration in order to sift the principles and problems in enforcing the law. Consequently,I have proposed that the Act should be revised by aiming at the revision of the law so that it shall be widely accepted by parties from other advanced countries. According to the research, I found that the Act generally contains various international concepts derived from the UNCITRAL Model Law on International Commercial Arbitration. Nevertheless, there are some points which are inconsistent with the international practice that may cause difficulty and inconvenience in implementing the law. As a result, I have raised some concerns and highlighted such problems into 6 points, including arbitration in the government contract, arbitrator's liability, non-differentiation between domestic arbitration and international arbitration, interim measure during arbitration, and legal profession and the arbitrator. To conclude, this thesis proved my hypothesis that the Arbitration Act B.E. 2545 of Thailand in comparison to the international practices includes international concepts but there are some points that need to be reconsidered and amended in order to make it to become widely accepted and brings greater income to Thailanden
dc.format.extent1410259 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการอนุญาโตตุลาการen
dc.subjectพระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545en
dc.subjectการอนุญาโตตุลาการทางการค้าระหว่างประเทศen
dc.titleข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับความเป็นสากลของ พระราชบัญญัติอนุญาโตตุลาการ พ.ศ. 2545en
dc.title.alternativeSome observations of the international characteristics of Arbitration Act B.E.2545en
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPhijaisakdi.H@chula.ac.th-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nareeluc.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.