Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10015
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญเสริม กิจศิริกุล | - |
dc.contributor.author | ณรงค์ บุญสิริสัมพันธ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-08-13T08:12:20Z | - |
dc.date.available | 2009-08-13T08:12:20Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.isbn | 9741756348 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10015 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 | en |
dc.description.abstract | การสร้างซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีนแบบหลายประเภทเป็นงานวิจัยที่ท้าทาย งานวิจัยฉบับนี้ได้นำเสนอวิธีการใหม่เรียกว่า วิธีการแตกครึ่งแบบสมดุล เพื่อขยายความสามารถของซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน ในการแก้ปัญหาการจำแนกข้อมูลแบบหลายประเภท วิธีนี้พัฒนามาจากวิธีการจำแนกแบบหนึ่งต่อหนึ่ง โดยเริ่มต้นที่การสร้างตัวจำแนกแบบหนึ่งต่อหนึ่งสำหรับแต่ละคู่ของประเภทข้อมูล แล้วค้นหาระนาบของตัวจำแนกที่อยู่ในตำแหน่งสมดุลที่สุด เมื่อเทียบกับตำแหน่งของข้อมูลทั้งหมดมาใช้ในการจำแนกข้อมูล วิธีการแตกครึ่งแบบสมดุลนี้ จะสามารถตัดประเภทข้อมูลที่ไม่ถูกต้องออกไปได้สูงสุดครั้งละครึ่งหนึ่ง ของจำนวนประเภทข้อมูลทั้งหมด ซึ่งเป็นจำนวนที่สูงกว่าวิธีการจำแนกแบบหนึ่งต่อหนึ่งแบบอื่นๆ เช่น วิธีดีดีเอจี วิธีเอดีเอจีและวิธีอาร์เอดีเอจี ที่สามารถตัดประเภทข้อมูลที่ไม่ถูกต้องออกไปได้เพียงครั้งละ 1 ประเภท นอกจากนี้ งานวิจัยยังได้นำเสนอจำนวนครั้งของการจำแนกจากผลการทดลองจริง เปรียบเทียบกับค่าที่คาดหวังไว้คือ [log2K] ครั้ง สำหรับปัญหาการจำแนกประเภทข้อมูล k ประเภท | en |
dc.description.abstractalternative | Constructing multiclass support vector machines (SVMs) is a challenging research problem. This paper presents a novel method, called balanced dichotomization to extend SVMs for multiclass problems. Balanced dichotomization is considered as an one-against-one method. Once the system has constructed all binary SVMs, one for each pair of classes, it searches for the hyperplane at the optimal balanced position among all data classes in consideration, called balanced dichotomization classifier. Using a balanced dichotomization classifier can remove half of the candidate classes during an evaluation for the correct class, that is a higher number of elimination compared to other methods, such as the DDAG, the ADAG and the RADAG, which eliminate only one class using an ordinary binary classifier. Results show that the proposed method maintains accuracy comparable to Max Wins, the RADAG and the ADAG. We also empirically evaluated the number of decisions to derive an answer compared to the expected value of [log2K] times for an K-class problem. | en |
dc.format.extent | 610335 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การเรียนรู้ของเครื่อง | en |
dc.subject | การรู้จำรูปแบบ | en |
dc.title | ซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีนแบบหลายประเภทโดยการแตกครึ่งแบบสมดุล | en |
dc.title.alternative | ซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีนแบบหลายประเภทโดยการแตกครึ่งแบบสมดุล | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | boonserm@cp.eng.chula.ac.th, Boonserm.K@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Narong.pdf | 596.03 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.