Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10614
Title: การพัฒนารหัสตัวบ่งชี้ เพื่อลดเวลาสูญเปล่าในสายการผลิต
Other Titles: Development of loss codes to reduce production loss
Authors: ธันยพร มะโนประเสริฐกุล
Advisors: จิตรา รู้กิจการพานิช
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Advisor's Email: fieckp@eng.chula.ac.th, Jittra.R@Chula.ac.th
Subjects: ผลิตภาพ
การจัดสมดุลสายการผลิต
สายการผลิต
การควบคุมความสูญเปล่า
การควบคุมกระบวนการผลิต
Issue Date: 2544
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: พัฒนารหัสบ่งชี้เพื่อลดความสูญเปล่าในสายการผลิต วิธีการศึกษาเริ่มจาก การศึกษาค่าของความสูญเปล่า ปัญหาที่ทำให้เกิดความสูญเปล่า สาเหตุของความสูญเปล่า ตลอดจนแนวทางการแก้ไขเพื่อลดความสูญเปล่า เพื่อจัดทำรหัสของความสูญเปล่าและดำเนินการพัฒนารหัสบ่งชี้ของความสูญเปล่า โดยการจัดแยกกลุ่มของรหัสของความสูญเปล่า รวมทั้งสามารถนำรหัสบ่งชี้ของความสูญเปล่า มาดำเนินการแก้ไขปัญหาที่ก่อให้เกิดค่าความสูญเปล่า ผลการศึกษาวิจัยพบว่า 1) พัฒนารหัสตัวบ่งชี้ความสูญเปล่าโดยพัฒนาจากรหัสบ่งชี้ที่แสดงแผนกที่ก่อให้เกิดปัญหา พัฒนาเป็นรหัสบ่งชี้ถึงสาเหตุของปัญหาในสายการผลิต 2. ออกแบบเครื่องมือเพื่อป้องกันและแก้ไขความสูญเปล่า แล้วดำเนินการประยุกต์ใช้เพื่อลดค่าความสูญเปล่า ได้แก่ 2.1) การออกแบบระบบงาน เพื่อการเปลี่ยนรุ่นผลิตภัณฑ์โดยการดำเนินการออกแบบระบบงาน และจัดทำโปรแกรมเพื่อสนับสนุนการเบิก-จ่ายอุปกรณ์จากสโตร์ การออกแบบระบบงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อลดปัญหาด้านคุณภาพในการผลิตแบบผลิตปริมาณต่อครั้งการผลิต 2.2) การศึกษาวิธีการทำงานเพื่อจัดสมดุลของสายการผลิต ซึ่งสามารถลดเวลามาตรฐานลงได้ 31% จากเวลามาตรฐานเดิม
Other Abstract: To develop loss codes for reducing loss on production line. The way to study from studying the loss codes, problem occur from the loss, cause of loss including the correction for reducing loss, making and developing the loss codes by separating the loss codes and can use the loss codes for solving the problems that create the loss. As the result of this research 1) develop of the code by showing the parts that create the problems to be the codes that show the cause of problem in the production line 2) design the equipment for preventing and correcting the loss and then apply to reduce loss as follows 2.1) design the operating system design for changing the model of product by using program to support the distribution of the equipments in the store, new model to reduce loss time in mass production phase 2.2) work study to balance in production line which can reduce 31% from the former standard time 31%
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมอุตสาหการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10614
ISBN: 9740308961
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thunyaporn.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.