Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1082
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปาริชาต สถาปิตานนท์ | - |
dc.contributor.author | ณัฏฐณิชย์ ศรีมาเสริม, 2518- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-07-25T06:15:31Z | - |
dc.date.available | 2006-07-25T06:15:31Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9741771576 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1082 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรณรงค์เพื่อลดการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในชุมชนศาลายา และปัจจัยการสื่อสารที่มีผลต่อพฤติกรรมการลดการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ดำเนินการเก็บข้อมูลด้วยการศึกษาจากเอกสารและสัมภาษณ์เจาะลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ผลการวิจัยพบว่า 1.1 แนวคิดหลักการรณรงค์เพื่อลดการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในชุมชนศาลายา ได้แก่ การสร้างความเข้มแข็งขององค์กรชุมชนเขตชานเมืองในงานคุ้มครองผู้บริโภคโดยเฉพาะผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและพฤติกรรมการลดการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในชุมชนศาลายา 1.2 การรณรงค์เพื่อลดการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในชุมชนศาลายา ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นตอนการวิจัย 2) ขั้นตอนการวางแผน-กระทำ 3) ขั้นตอนการสื่อสาร 4) ขั้นตอนการประเมินผล 2. ปัจจัยการสื่อสารที่มีผลต่อพฤติกรรมการลดการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร มี 5 ด้าน คือ 1) ปัจจัยด้านผู้ส่งสาร ได้แก่ มหาวิทยา/สถาบันมีความชำนาญและน่าเชื่อถือ ผู้นำชุมชนและองค์กรท้องถิ่นมีความร่วมมือกัน สถาบันเลือกประเด็นปัญหาที่สอดคล้องกับความสนใจของชุมชน สถาบันเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อลดช่องว่างระหว่างชุมชนกับสถาบัน 2) ปัจจัยด้านสาร ได้แก่ ลักษณะเนื้อหาเป็นข้อเท็จจริง ลักษณะเนื้อหาเข้าใจง่าย โครงการนำเสนอสารผ่านสัญลักษณ์ โครงการใช้สโลแกนเป็นเสมือนการเตือนสติให้ฉุกคิด 3) ปัจจัยด้านช่องทางการสื่อสาร ได้แก่ การสื่อสารแบบสองทาง การใช้ช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย 4) ปัจจัยด้านผู้รับสาร ได้แก่ ผู้รับสารมีความสนิทสนมเป็นการส่วนตัวและมีความคล้ายคลึงกัน ประชาชนในชุมชนมีศักยภาพ ประชาชนมีความเอาใจใส่ต่อสุขภาพ ชุมชนมีส่วนร่วมกัน 5) ปัจจัยด้านบริบทสังคม ได้แก่ สังคมปัจจุบันมีกระแสตื่นตัวด้านผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร โครงการมีความสอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐ | en |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to study the campaign to reduce food supplement consumption in the Salaya community and the communication factors that lead to reduced food supplement consumption behavior by means of qualitative research. Document analysis and in-depth interviews with key informants were used to complete this study. The results of the research are as follows : 1.1 The main concept of the campaign to reduce food supplement consumption in the Salaya community was strengthening the suburb community organization in a consumer security fair, featuring food supplements and food supplement consumption reduction behavior in Salaya community. 1.2 The campaign to reduce food supplement consumption in the Salaya community is composed of four steps : 1) research steps 2) planning steps implement 3) communication steps 4) evaluation steps 2. The communication factors that lead to reduced food supplement consumption behavior consist of five aspects. (1) Sender factor includes the expertise and credit ofuniversity/institute, the cooperation of community leaders and local organizations, the selection of problems relating to the public interest, and the participation of community's members, helping to reduce the gap between communities (2) Message factor includes the characters of the message that was true and easy to understand, the presentation through slogan and project symbol seemed to recall people recognition (3) Channel factor includes two way communication through various communication channels (4) Receiver factor includes acquaintance and similarity of recipients, potential of community residents, the people consideration of health, and participation in community activities (5) Context factor includes the tendency of dietary supplement alert that was in accordance with the government policy. | en |
dc.format.extent | 3037192 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร | en |
dc.subject | สัญศาสตร์ | en |
dc.subject | การคุ้มครองผู้บริโภค | en |
dc.subject | การสื่อสารทางโภชนาการ | en |
dc.subject | การโน้มน้าวใจ (วาทวิทยา) | en |
dc.subject | การสื่อสารในการพัฒนาชุมชน | en |
dc.subject | พฤติกรรมผู้บริโภค | en |
dc.title | การรณรงค์เพื่อลดการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในชุมชนศาลายา | en |
dc.title.alternative | The campaign to reduce food supplement consumption in Salaya community | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | นิเทศศาสตรพัฒนาการ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Parichart.S@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Natthanit.pdf | 2.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.