Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10977
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวิมล วัชราภัย-
dc.contributor.advisorใจทิพย์ ณ สงขลา-
dc.contributor.authorพรรณราย เทียมทัน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-03T03:15:07Z-
dc.date.available2009-09-03T03:15:07Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741722346-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10977-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractพัฒนาคอคนิทีฟทูลเพื่อช่วยในการสืบค้นข้อมูล และศึกษาผลของการใช้คอคนิทีฟทูล ความรู้เบื้องต้นและเมตาคอคนิชันที่มีต่อความสำเร็จในการสืบค้นข้อมูล บนเวิลด์ไวด์เว็บของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏนครสวรรค์ จำนวน 60 คน แบ่งเป็น กลุ่มที่มีความรู้เบื้องต้นระดับสูงและกลุ่มที่มีความรู้เบื้องต้นระดับต่ำ โดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น จากนั้นจึงใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คนคือ กลุ่มที่มีความรู้เบื้องต้นสูงที่ใช้คอคนิทีฟทูล กลุ่มที่มีความรู้เบื้องต้นสูงที่ไม่ใช้คอคนิทีฟทูล กลุ่มที่มีความรู้เบื้องต้นระดับต่ำที่ใช้คอคนิทีฟทูล และกลุ่มที่มีความรู้เบื้องต้นต่ำที่ไม่ใช้คอคนิทีฟทูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ 2- way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า 1. นักศึกษาที่ใช้และไม่ใช้คอคนิทีฟทูล มีคะแนนความสำเร็จในการสืบค้นข้อมูล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. นักศึกษาที่มีระดับความรู้เบื้องต้นต่างกันมีคะแนนความสำเร็จในการสืบค้น ข้อมูล แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างการใช้คอคนิทีฟทูลและระดับความรู้เบื้องต้นอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติen
dc.description.abstractalternativeTo 1) develop cognitive tool to use as an data search support 2) study the effects of cognitive tool, prior knowledge and metacognition upon data search success on World Wide Web of graduate students. The samples were 60 graduate students of Education, Rajabhat Institute Nakornsawan. They were stratified into two groups : high and low prior knowledge and then were random assignment into four groups. The two experimental groups used cognitive tool as a tool to support data searching. The collected data consisted of scores from data searching success. The statistic used was two-way ANOVA. The results of the research were as follows 1. There was significant difference between use and not use cognitive tool upon data search success of graduate students on World Wide Web. 2. There was significant difference between high and low prior knowledge upon data search success of graduate students on World Wide Web. 3. There was significant interaction between the use of cognitive tool and prior knowledge upon information search success of graduate students on World Wide Web.en
dc.format.extent2269904 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.750-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการค้นหาทางอินเตอร์เน็ตen
dc.subjectเมตาคอคนิชันen
dc.titleผลของการใช้คอคนิทีฟทูล ความรู้เบื้องต้น และเมตาคอคนิชันที่มีต่อความสำเร็จ ในการสืบค้นข้อมูลบนเวิลด์ไวด์เว็บ ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาen
dc.title.alternativeEffects of cognitive tool, prior knowledge, and metacognition upon data search success on World Wide Web of graduate studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuvimol.V@chula.ac.th-
dc.email.advisorJaitip.N@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.750-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pannarai.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.