Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1108
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนวดี บุญลือ-
dc.contributor.authorนวพร ภักดีสงคราม, 2520--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2006-07-26T05:39:19Z-
dc.date.available2006-07-26T05:39:19Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741771959-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1108-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจในการสื่อสารภายในกองบัญชาการกองทัพอากาศของข้าราชการกองทัพอากาศ อันประกอบด้วย การสื่อสารระหว่างบุคคล การสื่อสารระหว่างกลุ่ม และการสื่อสารผ่านสื่อ เช่น สารชาวฟ้า หนังสือข่าวทหารอากาศ และข่าวประจำวัน โดยผู้วิจัยได้เลือกกลุ่มตัวอย่างที่เป็นข้าราชการของกองทัพอากาศ จำนวน 403 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างความคาดหวังในการเปิดรับข่าวสารกับพฤติกรรมการเปิดรับข่าวสารของข้าราชการกองทัพอากาศในระดับต่ำ นั่นคือ กลุ่มตัวอย่งที่มีความคาดหวังเปิดรับข่าวสารสูงจะมีการเปิดรับมาก 2. กลุ่มตัวอย่างมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในระบบสื่อสารกับความคาดหวังในการเปิดรับข่าวสารในระดับปานกลาง แสดงให้เห็นว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีความคาดหวังในการเปิดรับข่าวสารมาก จะมีความพึงพอใจในการเปิดรับมาก 3. กลุ่มตัวอย่างมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในระบบสื่อสารภายในกองทัพอากาศกับพฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่างๆ ภายในกองทัพอากาศในระดับต่ำ นั่นคือ กลุ่มตัวอย่างได้เปิดรับข่าวสาร เพราะมีความพึงพอใจในระบบการสื่อสารen
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this research is to study the expectancy and gratification of Air Force officers on internal communication : personal communication, group communication and the print media such as Sarn Chao-Fa, RTAF Daily News and RTAF News. The respondents are 403 Air Force officers. Questionnaires were used to collect the data. Percentage, mean and Pearsons product moment correlation are statistical techniques used for data analysis. Findings : 1. The expectancy in Air Force information exposure significantly correlates with the exposure to Air Force internal communication. 2. The gratification on the Air Force internal communication significantly correlates with the expectancy in exposure. 3. The gratification on the internal communication significantly correlates with the exposure to Air Force internal communication.en
dc.format.extent615717 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.1212-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกองทัพอากาศ -- ไทยen
dc.subjectการสื่อสารในองค์การen
dc.titleความคาดหวังและความพึงพอใจในการสื่อสารภายในกองบัญชาการกองทัพอากาศของข้าราชการกองทัพอากาศen
dc.title.alternativeAir Force officers' expectancy and gratification on the internal communication in Air Force headquarteren
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตรพัฒนาการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.1212-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Navaporn.pdf762.17 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.