Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11140
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนเรศร์ จันทน์ขาว-
dc.contributor.authorนภาลัย คำสีม่วง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-11T05:35:09Z-
dc.date.available2009-09-11T05:35:09Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741714041-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11140-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractตรวจวัตถุระเบิดโดยการวัดรังสีพรอมต์แกมมาจากปฏิกิริยาการจับนิวตรอน ของไนโตรเจนพลังงาน 10.829 MeV ซึ่งใช้ 238Pu/Be ความแรง 5 คูรี (185 กิกะเบคเคอเรล) และ 241Am/Be ความแรง 3 คูรี (111 กิกะเบคเคอเรล) เป็นต้นกำเนิดรังสีนิวตรอน โดยวางอยู่ในถังน้ำที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.2 เมตร สูง 1.2 เมตร ซึ่งต้นกำเนิดรังสีนิวตรอนอยู่ลึกลงไปจากปลายเปิดด้านบน ของท่อนำนิวตรอนเท่ากับ 56 ซม. ท่อนำนิวตรอนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 21 ซม. ยาว 56 ซม. ทำหน้าที่ในการบังคับลำเทอร์มัลนิวตรอนไปยังตำแหน่งที่วางกล่องตัวอย่าง โดยมีหัววัดรังสีแกมมาแบบโซเดียมไอโอไดด์(แทลเลียม) ขนาด 5"x5" จำนวน 2 ชุด วางอยู่ด้านข้างของกล่องตัวอย่างทั้งสองด้านโดยหันหน้าหัววัดเข้าหากัน เพื่อตรวจวัดรังสีพรอมต์แกมมาจากไนโตรเจนพลังงาน 10.829 MeV การทดลองในช่วงแรกได้ใช้ตัวอย่างที่มีไนโตรเจนสูง ได้แก่ ยูเรียปริมาณ 670-1000 กรัม และการทดลองในช่วงหลังได้ใช้วัตถุระเบิดชนิด TNT ปริมาณ 480 กรัม และ C-4 ปริมาณ 315 กรัม ซึ่งบรรจุอยู่ในกล่องพัสดุไปรษณีย์ จากผลการทดลองพบว่าสามารถเห็นพีคของรังสีแกมมาพลังงาน 10.829 MeV ได้อย่างชัดเจนภายในเวลาประมาณ 500 วินาที เมื่อใช้เพียงหัววัดเดียว และใช้เวลาประมาณ 250 วินาที เมื่อใช้ทั้งสองหัววัดรวมกัน ซึ่งอาจสรุปได้ว่าระบบนี้เหมาะสำหรับใช้ในการตรวจสอบวัตถุระเบิดได้ดี ในสถานที่เฉพาะแต่ไม่เหมาะสำหรับใช้ในภาคสนาม การเพิ่มความไวในการตรวจวัดยังสามารถทำได้ โดยการเพิ่มความแรงของต้นกำเนิดรังสีนิวตรอนและการใช้หัววัดรังสีแกมมาหลายชุดen
dc.description.abstractalternativeIn this research, measurement of 10.829 MeV prompt captured gamma-rays from 14N(n,g)15N reaction was experimentally investigated for detection of explosives. The neutron irradiation facility consisted of a 5-Ci (185 GBq) 238Pu/Be and a 3-Ci (111 GBq) 241Am/Be neutron sources submerged in a 1.2 m diameter, 1.2 m height water tank at 56 cm depth. A 21 cm diameter, 56 cm long neutron collimator allowed thermal neutrons to reach the sample box placing above the water tank. Two 5"x5" NaI(Tl) detectors were positioned facing each other beside the sample box to detect the 10.829 MeV gamma-rays emitted in presence of nitrogen. The system was first tested using a nitrogen-rich compound i.e. 670-1000 g urea and finally using 480 g TNT and 315 g C-4 contained in a parcel box. It was found that 10.829 MeV gamma-ray peaks could be clearly observed within approximately 500 seconds for single detector and 250 seconds for dual detectors. It could be concluded that the system was applicable to detect explosives and was suitable for use at specific location but not for field use. The detection sensitivity could still be further improved by using a stronger neutron source and multiple detectors.en
dc.format.extent1108679 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวัตถุระเบิด -- การตรวจหาen
dc.subjectนิวตรอนen
dc.subjectรังสีแกมมาen
dc.titleการตรวจวัตถุระเบิดโดยการวัดรังสีพรอมต์แกมมาจากไนโตรเจนen
dc.title.alternativeDetection of explosives by measurement of prompt captured gamma-ray from nitrogenen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfnenck@eng.chula.ac.th, Nares.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Napalai.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.