Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1116
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัตยา โตควณิชย์-
dc.contributor.advisorศิริชัย กาญจนวาสี-
dc.contributor.authorอัญชัน สันติไชยกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-07-26T07:18:23Z-
dc.date.available2006-07-26T07:18:23Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745322199-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1116-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) รูปแบบการดำเนินชีวิต 2) การรับรู้เกี่ยวกับตนเอง และ 3) การรับนวัตกรรมสินค้าแฟชั่นของวัยรุ่นในกรุงเทพมหานครโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัยกลุ่มตัวอย่างวัยรุ่นที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย อายุ 15-19 ปี จำนวน 400 ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มรูปแบบการดำเนินชีวิตของวัยรุ่นในกรุงเทพมหานคร สามารถแบ่งออกได้เป็น 10 รูปแบบคือ 1) ตามแฟชั่นและกระแสนิยม 2) มุ่งมั่นจริงจัง 3) คนดีของสังคม 4) อนุรักษ์นิยม 5) รักสบายไม่สนใจโลก 6) สู้ชีวิต 7) บันเทิงนิยม 8)ยึดมั่นในศีลธรรม 9) มีความคิดรอบคอบและชอบเล่นเกมส์ และ 10) บ้านแสนสุข 2. การรับรู้เกี่ยวกับตนเองตามที่เป็นจริงและการรับรู้เกี่ยวกับตนเองและทางสังคมของวัยรุ่นมีลักษณะสอดคล้องกันในทุกคุณลักษณะ 3. วัยรุ่นในกรุงเทพมหานครจำนวนร้อยละ 11.4 จัดเป็นกลุ่มผู้บุกเบิก (Innovator) ทางด้านแฟชั่น ส่วนกลุ่มผู้ตาม (Follower) ทางด้านแฟชั่นมีจำนวนร้อยละ 88.6 4. รูปแบบการดำเนินชีวิตและการรับรู้เกี่ยวกับตนเองของวัยรุ่น มีความสัมพันธ์กันทั้งทางบวกและทางลบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 5. รูปแบบการดำเนินชีวิตแบบตามแฟชั่นและกระแสนิยม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับนวัตกรรมสินค้าแฟชั่น และรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบรักสบายไม่สนใจโลก อนุรักษ์นิยม สู้ชีวิต รวมทั้งมีความคิดรอบคอบและชอบเล่นเกมส์ มีความสัมพันธ์ทางลบกับการรับนวัตกรรมสินค้าแฟชั่น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 6. การรับรู้เกี่ยวกับตนเองและการรับนวัตกรรมสินค้าแฟชั่นของวัยรุ่น มีความสัมพันธ์กันทั้งทางบวกและทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were to study the 1) lifestyles, 2) self concept, and 3) fashion innovativeness of teenagers in Bangkok. Questionnaires were used as a method to collect data from 400 senior high school students, age 15-19 years old. The results were: 1) The lifestyles of teenagers in Bangkok were divided into 10 groups; 1) Fashion oriented group, 2) Future and achievement oriented group, 3) Social conscious group, 4) Conservative group, 5) Self-convenience loving group, 6) Struggling group, 7) Entertainment loving group, 8) Religious devoted group 9) Prudent and game loving group, and 10) Family oriented group. 2) The actual self concept and social self concept displayed by teenagers were congruent in every attributes. 3) The percentage of fashion innovators by teenagers in Bangkok was 11.4%, while the percentage of fashion followers 88.6. 4) Teenagers' lifestyles were significantly and both positively and negatively related with the self concept. 5) The lifestyle of Fashion orientedgroup was significantly and positively related with fashion innovativeness, while those of Self-convenience loving group, Conservative group, Struggling group and Prudent and game loving group were significantly and negatively related with fashion innovativeness. 6) Teenagers' self concept was significantly and both positively and negatively related with their fashion innovativeness.en
dc.format.extent2511783 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.282-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการดำเนินชีวิตen
dc.subjectการรับรู้ตนเองในวัยรุ่นen
dc.subjectแฟชั่นen
dc.subjectวัยรุ่นen
dc.subjectจิตวิทยาวัยรุ่นen
dc.subjectการแพร่กระจายนวัตกรรมen
dc.titleรูปแบบการดำเนินชีวิต การรับรู้เกี่ยวกับตนเอง และการรับนวัตกรรมสินค้าแฟชั่นของวัยรุ่นen
dc.title.alternativeLifestyle self concept and fashion innovativeness of teenagersen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการโฆษณาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorRataya.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.282-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anchan.pdf2.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.