Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1131
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พนา ทองมีอาคม | - |
dc.contributor.author | ลัลธริมา เกื้อสกุล, 2514- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-07-26T11:33:37Z | - |
dc.date.available | 2006-07-26T11:33:37Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9745320056 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1131 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากลยุทธการสื่อสารของกองทัพบกเพื่อสร้างจิตสำนึกสาธารณะเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อม 2) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาจิตสำนึกสาธารณะ เรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อม 3) ศึกษาการมีส่วนร่วมของผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้นเพื่อสร้างจิตสำนึกสาธารณะเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อม 4) ศึกษาความตระหนักอันนำไปสู่พฤติกรรมเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อม 5) ความสัมพันธ์ของการเปิดรับข่าวสารประเด็นเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อมจากสื่อต่างๆ ของกองทัพบกกับความคิดเห็นที่มีต่อกลยุทธ์การสื่อสารที่กองทัพบกใช้เพื่อสร้างจิตสำนึกสาธารณะเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อม 6) ศึกษาความสัมพันธ์ของการเปิดรับข่าวสารประเด็นเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อมจากสื่อต่างๆ ของกองทัพบกกับความตระหนักเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อม 7) ศึกษาความสัมพันธ์ของความคิดเห็นที่มีต่อกลยุทธ์การสื่อสารที่กองทัพบกใช้เพื่อสร้างจิตสำนึกสาธารณะเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อมกับความตระหนักเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อมกับความตระหนักเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อม วิธีการวิจัย ใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และแบบสอบถาม ขอบเขตการวิจัย คือ ศึกษาเฉพาะพลทหารกองประจำการที่สังกัดหน่วยในกรุงเทพมหานครเท่านั้น ผลการวิจัย พบว่า กลยุทธ์การสื่อสารที่กองทัพบกใช้เพื่อสร้างจิตสำนึกสาธารณะเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อมสามารถนำมาใช้ได้จริง และกลยุทธ์หลัก คือ การให้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และการใช้การฝึกอบรมชี้แจง โดยมีการใช้กลยุทธ์ในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การพูดแบบทหาร การใช้เหตุผล การให้รางวัล การสั่งสอน ส่วนแนวทางในการพัฒนาจิตสำนึกสาธารณะเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อม ควรเน้นในเรื่องของการให้ความรู้เพิ่มมากขึ้นเป็นหลัก และควรมีการประเมินผลให้มากขึ้นกว่าเดิม การมีส่วนร่วมของผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้นนั้น ส่วนใหญ่มาจากการรับนโยบายจากกองทัพบกมาปฏิบัติ และประเด็นสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่โลกกำลังให้ความสนใจอยู่ การเปิดรับข่าวสารประเด็นเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อมจากสื่อต่างๆ ของกองทัพบก มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความตระหนักเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 จึงทำให้พลทหารกองประจำการมีความตระหนักเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับสูง การเปิดรับข่าวสารประเด็นเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อมจากสื่อต่างๆ มีความสัมพันธ์เชิงบวกับความคิดเห็นที่มีกลยุทธ์การสื่อสารที่กองทัพบกใช้เพื่อสร้างจิตสำนึกสาธารณะเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 และความคิดเห็นที่มีต่อกลยุทธ์การสื่อสารที่กองทัพบกใช้เพื่อสร้างจิตสำนึกสาธารณะเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความตระหนักเรื่องสิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อมด้วย อย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับ 0.01 | en |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were 1) to study the communication strategies of Thai Army to create a public consciousness on human right in environment 2) to study the guideline in a public consciousness development on human right in environment 3) to study the participation of the command leader to create a public consciousness on human right in environment 4) to study the awareness leading to behavior on human right in environment 5) to examine the relationships between Thai Army media exposure on human right in environment and the opinion on the communication strategies which Thai Army used to create a public consciousness on human right in environment 6) to examine the relationships between Thai Army media exposure on human right in environment and the awareness on human right in environment 7) to study the relationships between the opinion on the communication strategies which Thai Army used to create a public consciousness on human right in environment and the awareness on human right in environment. The methodology was in depth interview and the questionnaires. This research surveyed only the army private in Bangkok. The results of the study are as follows: The communication strategies of Thai Army to create a public consciousness on human right in environment can be truly used with the army private. There are two main strategies : Learning by doing and training strategies. A variety of training strategies used by Thai Army are military spoken words, rational, reward conferring, and teaching. The guideline to develop a public consciousness on human right in environment significantly emphasizes on more knowledge and evaluation. The participation of the command leader mostly has originated by Thai Army policy Acknowledgement, and the environment topic is the one that the world is talking about much more in the present. In addition, The Army privates have mostly the awareness on human right in environment at the high level. Thai Army media exposure on human right in environment positively correlates withthe opinion on the communication strategies to create a public consciousness on human right in environment and the awareness on human right in environment significantly at 0.01 level. And the opinion on the communication strategies to create a public consciousness on human right in environment positively correlates with the awareness on human right in environment at 0.01 level. | en |
dc.format.extent | 1200548 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.31 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การสื่อสารระหว่างบุคคล | en |
dc.subject | การสร้างจิตสำนึก | en |
dc.subject | จิตสำนึก | en |
dc.subject | การเปิดรับข่าวสาร | en |
dc.subject | สิ่งแวดล้อม | en |
dc.subject | การโน้มน้าวใจ | en |
dc.subject | กองทัพบก | en |
dc.title | กลยุทธ์การสื่อสารของกองทัพบกเพื่อสร้างจิตสำนึกสาธารณะ เรื่อง สิทธิมนุษยชนด้านสิ่งแวดล้อม | en |
dc.title.alternative | Communication strategies of Thai army to create a public consciousness on human right in environment | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en |
dc.degree.discipline | นิเทศศาสตรพัฒนาการ | en |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Pana.T@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2004.31 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Luntarima.pdf | 1.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.