Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11841
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์ | - |
dc.contributor.advisor | ทิศนา แขมมณี | - |
dc.contributor.author | วราพร ขาวสุทธิ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-12-16T02:47:15Z | - |
dc.date.available | 2009-12-16T02:47:15Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743331948 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11841 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en |
dc.description.abstract | พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยการใช้การสอนตนเองกับการเรียนการสอนแบบรายบุคคล และแบบกลุ่ม สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักศึกษา ที่ได้รับการเรียนการสอนตามรูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น กับนักศึกษาที่ได้รับการเรียนการสอนตามปกติ จำแนกตามระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการเรียนการสอน กับระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีต่อความสามารถ ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ การวิจัยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ขั้นตอนแรกเป็นการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน และเอกสารประกอบรูปแบบการเรียนการสอน ขั้นตอนที่สองเป็นการทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอน และเอกสารประกอบรูปแบบการเรียนการสอน ผลการวิจัยพบว่า 1.รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วยกระบวนการในการสอน ที่ใช้แนวคิดกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ การเรียนการสอนแบบกลุ่ม การสอนตนเอง การเรียนการสอนแบบรายบุคคล ทักษะการคิดทางคณิตศาสตร์ และความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เป็นเครื่องมือหรือกระบวนการ ในการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ประกอบด้วยหลักการ จุดมุ่งหมาย เนื้อหา กระบวนการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลการเรียนการสอน ในส่วนของกระบวนการจัดการเรียนการสอนนั้นมี 3 ขั้นตอนหลักได้แก่ ขั้นเตรียมการเรียนการสอน ขั้นดำเนินการเรียนการสอน ขั้นสรุปเชื่อมโยงและการประยุกต์ใช้ โดยในขั้นดำเนินการเรียนการสอน จะมีการตรวจสอบความรู้พื้นฐาน การสอนตนเอง การฝึกกระบวนการแก้ปัญหา และการประเมินกระบวนการแก้ปัญหา 2. เมื่อนำรูปแบบการเรียนการสอน ที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใช้พบว่า 2.1 รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น สามารถพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 2.2 คะแนนเฉลี่ยความสามารถ ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ของนักศึกษากลุ่มทดลองสูงกว่านักศึกษากลุ่มควบคุม ทั้งในระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ปานกลางและต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2.3 มีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างรูปแบบการเรียนการสอนกับระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | en |
dc.description.abstractalternative | To develop an instructional model of problem solving process in mathematics by using self instruction, individualized and group instruction; to compare problem solving ability in mathematics and mathematics learning achievement between students taught by the developed model and the regular instructional model in each level of learning achievement; and to study the interaction between instructional model and level of learning achievement on problem solvin]g ability in mathematics and mathematics learning achievement. The research procedures were comprised of 2 steps. First, developing the instructional model and supplementary materials, second testing the developed model. The results of this research were as follows: 1. The developed model comprised of teaching-learning processes which employed the concepts of problem solving process, group instruction, self instruction, mathematical thinking skill and prior mathematical knowledge as necessary tools for problem solving ability in mathematics and mathematics learning achievement. The model consisted of principles, objectives, contents, teaching-learning processes and evaluation of learning achievement and problem solving ability in mathematics. The teaching-learning processes involved 3 main steps : the preparation, the operation, the conclusion and application. The unique operational processes of this model were the testing of prior mathematical knowledge and thinking skill, the using self instruction, the practice and evaluation of problem solving processes. 2. When the instructional model was implemented with a higher vocational education certificate level students, the findings revealed that : 2.1 The developed model was able to develop both problem solving ability in mathematics and mathematics learning achievement of higher vocational education certificate level students. 2.2 The problem solving ability in mathematics and mathematics learning achievement mean scores of the experimental group were significantly higher than those of the controlled group at all levels of learning achievement at the .05 level. 2.3 There were significant interaction effects between the instructional model and level of learning achievement on problem solving ability in mathematics and mathematics learning achievement at the .05 level. | en |
dc.format.extent | 813920 bytes | - |
dc.format.extent | 855422 bytes | - |
dc.format.extent | 1121260 bytes | - |
dc.format.extent | 1181587 bytes | - |
dc.format.extent | 1059632 bytes | - |
dc.format.extent | 880363 bytes | - |
dc.format.extent | 3126662 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.1999.416 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การแก้โจทย์สมการ | en |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน | en |
dc.subject | การศึกษาด้วยตนเอง | en |
dc.subject | การเรียนแบบกลุ่ม | en |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยการใช้การสอนตนเองกับการเรียนการสอนแบบรายบุคคลและแบบกลุ่ม สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง | en |
dc.title.alternative | A development of the instructional model of problem solving process in mathematics by using self instruction, individualized and group instruction for students at the higher vocational education certificate level | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | es |
dc.degree.discipline | หลักสูตรและการสอน | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.advisor | Tisana.K@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.1999.416 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Varaporn_Kh_front.pdf | 794.84 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Varaporn_Kh_ch1.pdf | 835.37 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Varaporn_Kh_ch2.pdf | 1.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Varaporn_Kh_ch3.pdf | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Varaporn_Kh_ch4.pdf | 1.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Varaporn_Kh_ch5.pdf | 859.73 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Varaporn_Kh_back.pdf | 3.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.