Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12285
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา-
dc.contributor.authorปาจรีย์ ติ้วสิขเรศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2010-03-17T06:54:23Z-
dc.date.available2010-03-17T06:54:23Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741426402-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12285-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อการศึกษาลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ที่มีการใช้อยู่ในปัจจุบัน 2) เพื่อสร้างและพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมในแหล่งเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และจัดทำ "คู่มือการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ในแหล่งการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา การรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" ให้กับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3) เพื่อศึกษาผลการใช้ แผนการจัดกิจกรรมบูรณาการ ตาม "คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" ที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสานระหว่าง วิธีเชิงคุณภาพด้วยพหุกรณีศึกษาและเชิงปริมาณด้วยวิธีการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบวัด การรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และวิเคราะห์ผลการทดลองด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนตัวแปร ร่วมพหุนาม (MANCOVA) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 120 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. ลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมี 2 ลักษณะ คือ 1) กิจกรรมที่จัดตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ แหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซึ่งดำเนินการโดย เจ้าหน้าที่ของแหล่งการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2) กิจกรรมที่ จัดตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครูเป็น ผู้กำหนด เป็นการศึกษาเนื้อหาภาย ในแหล่งเรียนรู้แล้ว เขียนรายงานตามหัวข้อที่อาจารย์กำหนดและส่ง อาจารย์ภายหลังกลับจากทัศนศึกษา 2. แนวทางในการจัด กิจกรรมเพื่อพัฒนาการรู้วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี คือ แนวทางการบูรณาการภายในสาระวิชา (Intradisciplinary Integration) กับการบูรณาการ ความรู้วิทยาศาสตร์กับการดำเนินชีวิตประจำวันโดย พัฒนาแผนการจัดกิจกรรมต่อเนื่อง 3 แผน 1 แผน เตรียมความพร้อม 2 แผนเปิดรับความรู้ แผนที่ 3 แผนรวบยอดความรู้ 3. ผลการทดลองใช้แผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการตามคู่มือการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนา การรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พบว่า นักเรียนกลุ่มที่ผ่านกิจกรรมบูรณาการมีคะแนนการรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สูงกว่านักเรียนกลุ่มที่ใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของแหล่งเรียนรู้ปกติ และกลุ่ม ควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (Pillai's Trace: p=0.03, Wilks' Lambda: p=0.02, Hotelling's Trace: p=0.02 Roy's Largest Root: p=0.00)en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were: 1) to study learning plans in a science learning resource that was used nowadays 2) to dvelop the manual for managing learning activities in a science learning resource for scientific and technological literacy 3) to study effect of the integration plan in manual for managing learning activities in a science learning resource for scientific and technological literacy development on scientific and technological literacy of Mathayonmsuksa three students. The experimental samples were 120 students in Matayomsuksa 3 from 3 schools. The research instrument was scientific and technological literacy test. The analysis were done by MANCOVA. Research findings are as follows: 1. There wer 2 activities in science learning resource that is used nowadays: 1) the activities that operated by science learning resource staffs, 2) used the worksheet developed by teacher . 2. The integration plan in the manual for managing learning activities in a science learning resource for scientific and technological literacy development was developed on integration method. There were 3 activity plans: first, preparation plan, second, open up plan, third, conclusion plan. 3. The scientific and technological literacy score of the experimental group that used the integration plan in a manual for managing learning activities in a science resource for scientific and technological literacy development was higher than the group that used the activities that operated by science learning resource staffs and control group at significant level 0.05. (Pillai's Trace: p=0.03, Wilks' Lambda: p=0.02, Hotelling's Trace: p=0.02 Roy's Largest Root: p=0.00).en
dc.format.extent9979228 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- กิจกรรมการเรียนการสอนen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพฯen
dc.titleการวิจัยและพัฒนาคู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาการรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3en
dc.title.alternativeResearch and development of a manual for managing learning activities in a science learning resource for scientific and technological literacy development of Mathayomsuksa Three studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pacharee.pdf9.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.