Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12426
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิรพัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์-
dc.contributor.authorรุ่งชัย วิจิตรยืนยง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-03-31T02:00:53Z-
dc.date.available2010-03-31T02:00:53Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.isbn9741434677-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12426-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractศึกษาโครงสร้างการใช้พลังงานและเสนอแผนการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าในโรงงานผลิตวงจรรวม ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา การใช้พลังงานไฟฟ้าภายในประเทศไทยมีแนวโน้มสูงขึ้น ปัจจัยอันหนึ่งเป็นเพราะรัฐบาลมีนโยบายการส่งเสริมการลงทุน ในด้านอุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกส์เพื่มมากขึ้น ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่มีอัตราการใช้พลังงานไฟฟ้สูง ในโรงงานกรณีตัวอย่างก็เช่นเดียวกันช่วงระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา ปริมาณการผลิตเพิ่มสูงขึ้นดังนั้นความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าก็เพิ่มสูงขึ้นเช่นเดียวกัน การวิจัยจะศึกษาทฤษฎีเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม ศึกษากระบวนการผลิต และเก็บรวบรวมข้อมูลด้านการผลิต กำลังการผลิต และการใช้พลังงานของโรงงานกรณีศึกษา นำข้อมูลมาวิเคราะห์หาค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อหน่วย ผลผลิต (SEC) ในปี 2548 มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 0.506 เมกะจูล/ชิ้น (หน่วยผลผลิตเทียบเท่า) จากนั้นเริ่มคิดหามาตรการอนุรักษ์พลังงานและการประหยัดพลังงาน โดยจัดตั้งคณะกรรมการอนุรักษ์พลังงาน และนำไปสู่แนวคิดในการอนุรักษ์พลังงาน เช่น การควบคุมการเปิด-ปิดเครื่องจักรให้เป็นไปตามแผนการผลิตและอื่นๆ แล้วนำข้อมูลมาเปรียบเทียบ ปรากฏว่า ประสิทธิภาพการใช้พลังงานต่อหน่วยผลิตในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2549 ดีขึ้น โดยค่า SEC อยู่ที่ 0.452 เมกะจูล/ชิ้น (หน่วยผลผลิตเทียบเท่า) ผลสรุปจากการดำเนินดังกล่าว เราสามารถเขียนเป็นคู่มือปฏิบัติการ (Procedure manual) และเอกสารขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Work instruction) โดยใช้หลักการของ SPER (Standard, Performance, Evaluate, Review) เพื่อให้โรงงานกรณีศึกษานั้นมีการอนุรักษ์พลังงานที่ยั่งยืน เพื่อที่จะเป็นประโยชน์ต่อโรงงานกรณีศึกษา และเป็นประโยชน์ในการวางแผนด้านพลังงานไฟฟ้าของประเทศชาติต่อไปen
dc.description.abstractalternativeTo study the structure of consume electricity and propose to instruct a procedure, work instruction and user manual for electricity conservation. In Thailand, since 10 years ago, have been high trend to consume electricity due to the goverment has been encouraging investment in electronics in electronics industry which high consume electricity. In factory case study, since 3 years ago, have been high demand so they need high consume electricity. In this research, we study electricity conservation theory, manufacturing process, capacity and electricity consumption. In 2005, Specific Energy Consumption (SEC) of 2005 was 0.506 MJ/Unit (EU). We establish the electricity conservation committee and then develop energy conservation and energy saving procedure such as production control, implement VSD for HVAC. The SEC is 0.452 MJ/Unit that better than the same period. In this paper, we report procedure and work instruction by SPER that the firm can be enduring electricity conservation and helpful for electricity planning in the future.en
dc.format.extent2363512 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการใช้พลังงานไฟฟ้าen
dc.subjectการอนุรักษ์พลังงานen
dc.subjectพลังงานไฟฟ้า -- การอนุรักษ์en
dc.subjectไอเอสโอ 9000en
dc.subjectไอเอสโอ 14000en
dc.titleการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าในโรงงานประกอบวงจรรวมen
dc.title.alternativeElectricity energy conservation of integrated circuit assembly industryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJeirapat.N@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Roongchai.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.