Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13057
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบัณฑิต จุลาสัย-
dc.contributor.authorณัฏฐศิกษ์ บุณยะวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-07-20T04:40:20Z-
dc.date.available2010-07-20T04:40:20Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13057-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractเนื่องจากบริษัท วิริยะประกันภัย ที่ดำเนินธุรกิจด้านประกันภัย มีอาคารสำนักงานตามลำดับสายงานได้แก่ สำนักงานภาค สาขา/ศูนย์ฯสินไหมทดแทน สาขา และ ศูนย์ฯสินไหมทดแทน รวม 75 แห่ง การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์ จะศึกษาสภาพและการดูแลอาคารสำนักงานในปัจจุบัน เพื่อเสนอแนะแนวทางในการดำเนินงานด้านอาคารต่อไป โดยเลือกอาคารสำนักงานที่ตั้งอยู่ในภาคกลางและกรุงเทพมหานครจำนวน 12 แห่ง ประกอบด้วย สำนักงานภาค 1 แห่ง สาขา/ศูนย์ฯ สินไหมทดแทน 4 แห่ง สาขา 2 แห่ง และศูนย์ฯ สินไหมทดแทน 5 แห่ง เป็นกรณีศึกษา จากการศึกษาพบว่า อาคารกรณีศึกษาทั้ง 12 แห่ง มีอายุอาคารตั้งแต่ 2–27 ปี ขนาดที่ดิน 23–1,112.30 ตารางวา ส่วนใหญ่เป็นอาคารเดี่ยว ยกเว้นอาคารสำนักงานภาค และ สาขา/ศูนย์ฯสินไหมทดแทน สุขาภิบาล 3 พื้นที่โดยรวมอาคารมีขนาด 280–1,415.70 ตารางเมตร จำนวนบุคลากร 7–94 คน ค่าใช้จ่าย ต่อตารางเมตร มีตั้งแต่ 86.44–355.95 บาท ทั้งนี้ อายุอาคาร ขนาดเนื้อที่ และพื้นที่อาคารรวมที่แตกต่างกัน ไม่ขึ้นอยู่กับระดับสายงาน สภาพอาคารส่วนใหญ่ทรุดโทรม มีการบำรุงรักษาระบบปรับอากาศเพียงอย่างเดียวเท่านั้น โดยจัดจ้าง บริษัทภายนอกเข้ามาดำเนินการ ส่วนระบบอื่นๆจะซ่อมเมื่อเสีย แต่ละหน่วยงานจะดำเนินการซ่อมแซมเท่าที่อยู่ในงบประมาณ และอำนาจอนุมัติของผู้จัดการหน่วยงานนั้น งานที่มีความซับซ้อนหรือที่เกี่ยวกับโครงสร้างอาคาร ส่วนกลางจะเป็นผู้รับผิดชอบ ส่งผลให้เกิดความล่าช้าจนเสียหายรุนแรงขึ้น ส่วนบุคลากรที่ดูแลด้านอาคารสถานที่ส่วนใหญ่มาจากเจ้าหน้าที่สายการเงินหรือบริหารทั่วไป ระบบประกอบอาคารหมดสภาพหรือหมดอายุ ก็ไม่มีงบประมาณเตรียมไว้ ด้วยเหตุดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาและไม่มีแนวปฏิบัติชัดเจน ทำให้ส่งผลในการดำเนินธุรกิจ ภาพลักษณ์และความน่าเชื่อถือขององค์กร จึงมีข้อเสนอแนะว่าควรนำเอาระบบบริหารทรัพยากรกายภาพ ที่ครอบคลุมทั้งด้านการบริหาร การจัดการ การบำรุงรักษา และ การบริการ โดยปรับให้สอดคล้องและเหมาะสมสำหรับสำนักงานแต่ละระดับสายงานต่อไปen
dc.description.abstractalternativeThis research is aimed at studying the present office buildings of the Viriyah Company, a leading insurance company in Thailand. The study focuses on the conditions and maintenance of the building in order to establish guidelines for proper future management. Out of 75 office buildings (regional offices, branch/ claims centers, and other branches), only 12 buildings in Bangkok and in central Thailand were chosen for the case studies : one regional office building, four branch/ claims centers, two branches, and five claims centers. All 12 buildings were studied in aspects of age, land size, functional area, occupants, and maintenance costs. It was found that their age, land size, and functional area do not correspond to the offices' hierarchical level in the corporate structure. The main findings are as follows : Most of the 12 selected buildings are single buildings except the regional office building and the Sukhapibarn 3 branch/ claims center. The buildings are of 2 to 27 years old, developed plots of land are from 23 to 1,112.30 square wah (equal to 92 – 4,449.20 square meters), with a functional area ranging from 280 – 1,415.70 square meters serving 7 – 94 occupants. Therefore, the maintenance cost per a square meter ranges from 86.44 to 355.95 baht. Based on the research findings, it can be concluded that, generally, the case study buildings are in poor condition except for their air conditioners, which are under the maintenance of an outside service company. Concerning the buildings themselves, three shortcomings should be considered. First, only as needed is basic repair done within a fixed budget under authorization of the office manager. In case of more complicated repairs or structural problems, the headquarters takes responsibility, which results in delayed repair and eventually severe building damage. Second, most of the staff in charge of the building maintenance are in the Finance or Administrative Departments. Third, no budget is set for any problems caused by expired component materials. Without clear maintenance guidelines as described, maintenance problems have developed impacting business operations, image, and credibility. Thus, efficient facility management – including management, administration, maintenance, and service – should be implemented in accordance with the nature and hierarchy of each particular office in the future.en
dc.format.extent3767789 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.549-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectบริษัทวิริยะประกันภัย -- อาคารen
dc.subjectการบริหารทรัพยากรกายภาพen
dc.subjectอาคารสำนักงานen
dc.titleการบริหารทรัพยากรกายภาพ : กรณีศึกษา อาคารสำนักงานวิริยะประกันภัยen
dc.title.alternativeFacility management : case studies of Viriyah Insurance officesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรม-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorBundit.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.549-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattasik_bo.pdf3.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.