Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13610
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน-
dc.contributor.authorอ้อมใจ พงษาเกษตร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-10-08T08:56:43Z-
dc.date.available2010-10-08T08:56:43Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13610-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการผลิตของโรงานผลิตชิ้นส่วนอิเลคทรอนิคส์ กรณีศึกษาแห่งหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มผลผลิตในกระบวนการให้มากยิ่งขึ้น จากการศึกษาพบว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการผลิตที่ไม่มีประสิทธิภาพมีหลายประการ ซึ่งส่งผลกระทบให้ส่งมอบสินค้าไม่ทันตามกำหนดเวลา โดยสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดปัญหานี้คือ การที่มีกิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่าในสายการผลิตที่มากเกินไป จนส่งผลให้เกิดความสูญเปล่าต่างๆ ขึ้นตามมาในกระบวนการผลิต จากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นนี้ ผู้วิจัยจึงได้เสนอให้พิจารณากิจกรรมในแต่ละขั้นตอนการทำงานตลอดทั้งสายการผลิต เพื่อจำแนกประเภทกิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดคุณค่า โดยวิเคราะห์ในแต่ละกิจกรรมและจำแนกออกให้อยู่ในรูปแบบของความสูญเปล่าแต่ละประเภท จากนั้นแก้ไขปรับปรุงปัญหาที่เกิดขึ้นโดยอาศัยหลักการ และการเลือกใช้เครื่องมือของลีนให้เหมาะสมกับแต่ละประเภทของความสูญเปล่าที่เกิดขึ้น ซึ่งผลหลังจากการดำเนินการปรับปรุงโรงงานกรณีศึกษาแห่งนี้พบว่า การผลิตมีแนวโน้มที่ดีขึ้นคือ ผลผลิตเพิ่มขึ้นจาก 2262 เป็น 2520 ชิ้นงาน คิดเป็น 11.41% เปอร์เซ็นต์ผลิตภาพเฉลี่ย (Productivity) เพิ่มขึ้นจาก 88.96 เป็น 92.60 คิดเป็น 2.93% อีกทั้งยังส่งผลทำให้ต้นทุนการผลิตต่อหน่วยลดลงจาก 12.60 เป็น 12.42 คิดเป็น 1.43%en
dc.description.abstractalternativeTo study for a guideline to improve production process in an electronic part factory. The objective is to increase the productivity. The study showed more ineffective production problems affecting on-time delivery. The major cause of this problem is that there are many non-value added activities in the production line that have effects on effectiveness lost in production line. As above problem, the researcher present the activity consideration in each step for all working line to classify non-valued added activities by analysis of each activity and specify wastes so as to improve the occurred problem through application of appropriate Lean technique on wastes. After the manufacturing the process has improved, the result has shown a trend of productivity improvement; that is from 2262 to 2520 pcs, or by 11.41%. Average productivity has been improved from 99.96 to 92.60 or by 2.93%. And finally, production cost is reduced from 12.60 to 12.42 or by 1.43%.en
dc.format.extent2003923 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.899-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผลิตภาพen
dc.subjectการผลิตแบบลีนen
dc.subjectอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์en
dc.titleการเพิ่มผลผลิตในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนอิเลคทรอนิคส์ โดยใช้เทคนิคการผลิตแบบลีนen
dc.title.alternativeProductivity improvement in electronics part factory by lean manufacturing techniqueen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuthas.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.899-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aomjai_Po.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.