Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14485
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประยงศรี พัฒนกิจจำรูญ-
dc.contributor.authorนริศรา เพชรพนาภรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2011-01-17T08:08:26Z-
dc.date.available2011-01-17T08:08:26Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14485-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หนังสือนามานุกรมของไทยที่จัดพิมพ์ระหว่าง พ.ศ. 2543-2547 ในด้านผู้จัดทำประเภท องค์กร/วิชาชีพ ข้อมูลที่ครอบคลุม เครื่องช่วยค้นภาษา และการจัดพิมพ์ การดำเนินการวิจัยครั้งนี้ใช้แบบบันทึกข้อมูลเป็นเครื่องมือในการวิจัย โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากหนังสือนามานุกรมจำนวน 578 รายการ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า หนังสือนามานุกรมจำนวนสูงสุดจัดพิมพ์ในปี พ.ศ. 2545 เป็นนามานุกรมประเภทสถาบัน จัดทำโดยหน่วยงานราชการ และมีจำนวนหน้าระหว่าง 101 – 200 หน้า หนังสือนามานุกรมจำนวนสูงสุดและรองลงมาให้ข้อมูลเกี่ยวข้องกับองค์กร/ บุคคลในสาขาการศึกษาและสาขาธุรกิจการค้า ตามลำดับ โดยมีหนังสือนามานุกรมที่เกี่ยวข้องกับองค์กร/ บุคคล 4 สาขาที่หน่วยงานทุกประเภทจัดทำคือ สังคมศาสตร์ การศึกษา สาธารณสุขศาสตร์ และเทคโนโลยี หนังสือนามานุกรมทุกรายการให้ข้อมูลพื้นฐาน โดยจำนวนสูงสุดให้ข้อมูลครอบคลุม 2 ด้านคือ ข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลด้านประวัติ หนังสือนามานุกรมส่วนใหญ่ใช้ชื่อหน่วยงานเป็นผู้แต่ง จัดเรียงข้อมูลโดยจำแนกตามกลุ่มองค์กร/วิชาชีพ มีการจัดทำเครื่องช่วยค้นเป็นหนังสือนามานุกรมภาษาไทย ไม่ระบุกำหนดออกที่แน่นอน มีภาพประกอบ และเป็นภาพประกอบสีมากกว่าภาพขาวดำ หนังสือนามานุกรมส่วนน้อยที่มีการจัดทำในรูปแบบอื่น โดยจัดทำเป็นเว็บไซต์มากกว่าซีดีรอม.en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to analyze Thai directories published from 2000 – 2004 in terms of publishers, types of directory, fields of organization/profession, coverage data, searching tools, languages, and physical descriptions. Data collecting form was implemented as a tool in collecting data from 578 items. Research findings revealed that the highest amount of directories were published in 2002, were institutional directories, were published by the public sectors, and had between 101 – 200 pages. The highest and second highest amount of directories gave data on the organization/individual in the fields of education and business respectively, in which there were four fields that all types of publishers published: social science, education, public health, and technology. All directories gave contact data, in which the highest amount covered 2 types of data: contact data and historical data. The majority of directories used corporate name(s) as the author(s), were arranged according to field of organization/profession, had searching tools, were in Thai, had unknown frequency, and had illustration with more colored illustration than black and white. Finally, the minority of directories were published in other formats, which were in website more than in CD-ROM.en
dc.format.extent13267545 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.444-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectไทย -- ทำเนียบนามen
dc.subjectการวิเคราะห์เนื้อหาen
dc.titleการวิเคราะห์หนังสือนามานุกรมของไทยที่จัดพิมพ์ระหว่าง พ.ศ. 2543-2547en
dc.title.alternativeAn analysis of directories published from 2000 to 2004en
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPrayongsri.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.444-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
naritsara.pdf12.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.