Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15652
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภิญโญ มีชำนะ | - |
dc.contributor.advisor | สมศักดิ์ สายสินธุ์ชัย | - |
dc.contributor.author | รณพีร์ ยอดสุวรรณ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2011-08-09T14:35:08Z | - |
dc.date.available | 2011-08-09T14:35:08Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15652 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | การทำนาเกลือสินเธาว์ในภาคอีสานมีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีกรรมวิธีการผลิตหลักๆ อยู่ 2 วิธีด้วยกันคือ วิธีการต้มน้ำเกลือเพื่อให้น้ำเกลือระเหยจนเกลือตกผลึก และวิธีการตากน้ำเกลือในนาเกลือโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเทคโนโลยี ที่จะนำมาใช้เพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตเกลือสินเธาว์ทั้งสองกรรมวิธี สำหรับกรรมวิธีการต้มน้ำเกลือ ได้นำเทคโนโลยีระบบแผงวงจรความร้อนรูปครึ่งเหลี่ยม (Half square plate) จุดประสงค์เพื่อเพิ่มอุณหภูมิของน้ำเกลือโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ จากอุณหภูมิปกติ 25˚C ให้เพิ่มถึง 80˚C ก่อนนำน้ำเกลือเข้าสู่กระทะต้มเกลือ สำหรับกระบวนการผลิตเกลือโดยวิธีต้มเกลือ ซึ่งจะช่วยประหยัดพลังงาน ประหยัดค่าแกลบซึ่งเป็นเชื้อเพลิงหลักในการต้มน้ำเกลือได้ 10-30% และระบบเพิ่มความเข้มข้นให้กับ น้ำเกลือโดยใช้หัวสเปรย์ไหลเวียนแบบขั้นบันได (Spraying nozzles stair) สำหรับกรรมวิธีการตากน้ำเกลือ เป็นเครื่องมือที่นำมาแทนที่เครื่องมือเพิ่มค่าความเข้มข้นแบบดังเดิมที่เรียกว่า “บ้านญี่ปุ่น” จุดประสงค์เพื่อเพิ่มความเข้มข้นให้กับน้ำเกลือที่มีค่าความเข้มข้นไม่เพียงพอต่อการตกผลึก ซึ่งน้ำเกลือจะถูกสูบผ่านปั๊มน้ำ ส่งเข้าผ่านหัวฉีดสเปรย์ซึ่งเพิ่มพื้นผิวสัมผัสกับอากาศที่ร้อนจัดภายในตู้กระจก ไอน้ำจะระเหยออกอยากรวดเร็ว ทำให้ลดระยะเวลาในการเพิ่มความเข้มข้นให้กับน้ำเกลือได้ประมาณ 3-4 เท่าตัว โดยสามารถเพิ่มความเข้มข้นให้กับน้ำเกลือได้ตลอดทั้งปี แม้กระทั่งฤดูฝนซึ่งมีแดดน้อยและไม่ต้องใช้พื้นที่มาก. | en |
dc.description.abstractalternative | Salt production from rock salt in the Northeastern Thailand has been performed from the past many years. The two options of production processes have been applied by solar evaporation of the brine in the salt farm or boiling of brine until salt crystallization occurs. This research is to improve energy efficiency using Half Square Plate and Spraying Nozzles Stair designed to use solar energy to evaporate brine to obtain salt crystals. Firstly, the Half Square Plate was used to increase temperature from 25˚C to about 80˚C under solar expose. Energy saving using solar energy to replace rice husk fuel in brine boiling process has reduced energy cost to be in the range of 10 and 30%. Secondly, the warm brine was then fed to Spraying Nozzles Stair to increase evaporation rate of the warm brine until salt crystallization occurred. The two processes have proved to increase the concentration of salt in the brine with less time (3-5 times) than the locally used “Ban Yee Pun”. Spraying Nozzles Stair can be operated throughout the year (even in rainy season) with less space. | en |
dc.format.extent | 5118017 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2105 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | เกลือสินเธาว์ | en |
dc.subject | การระเหย | en |
dc.subject | อุตสาหกรรมเกลือสินเธาว์ -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) | en |
dc.subject | ธรณีวิทยา -- ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) | en |
dc.title | การเร่งการระเหยของน้ำเกลือในการทำนาเกลือด้วยหัวฉีดแบบสเปรย์ | en |
dc.title.alternative | Increasing evaporation rate of brine in the salt fields by spraying nozzles | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมทรัพยากรธรณี | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Pinyo.M@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | fmnsss@kankrow.eng.chula.ac.th, Somsak.S@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.2105 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ranapee_yo.pdf | 5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.