Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15969
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภิญโญ มีชำนะ-
dc.contributor.advisorสุรพล ภู่วิจิตร-
dc.contributor.authorพิธา ศรีบุศย์ดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-09-25T03:58:42Z-
dc.date.available2011-09-25T03:58:42Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15969-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2552en
dc.description.abstractตะกรัน (Slag) ที่เกิดขึ้นในโรงไฟฟ้าแม่เมาะสร้างปัญหาในการผลิตกระแสไฟฟ้าอย่างมาก เนื่องจากการที่มีตะกรันไปติดอยู่ในผนังเตาของหม้อไอน้ำของโรงไฟฟ้า ซึ่งสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดตะกรันคือ ถ่านหินที่มีปริมาณร้อยละของ CaO ที่อยู่ในช่วง 23-35% การทดลองนำเอาตัวอย่างถ่านหินจำนวนสามตัวอย่าง ซึ่งมีค่าปริมาณร้อยละของ CaO แตกต่างกันคือ ตัวอย่างที่มีค่า CaO ต่ำ (2.24%) ค่า CaO ปานกลาง (27.34%) และ ตัวอย่างที่มีค่า CaO สูง (31.81%) นำไปหาค่าอุณหภูมิเริ่มต้นของการหลอม (Initial deforming temperature: IT) ของเถ้า พบว่าอุณหภูมิการหลอมของตัวอย่าง ที่มีค่า CaO ปานกลาง มีค่า IT = 1,197°C (อุณหภูมิมิต่ำสุด) ซึ่งต่ำกว่าอุณหภูมิในเตาเผาหม้อไอน้ำ (1,200°C) ตัวอย่างที่มีค่า CaO สูง มีค่า IT = 1,301°C และตัวอย่างที่มีค่า CaO ต่ำ จะมีค่า IT มากกว่า 1,500°C หลังจากนั้นนำตัวอย่างถ่านหินทั้งสามมาเผาที่อุณหภูมิ 800°C, 900°C, 1,000°C, 1,100°C และ 1,200°C แล้วนำเถ้าที่ได้มาวิเคราะห์ด้วยวี X-ray diffraction (XRD) เพื่อหาชนิดของแร่ในแต่ละอุณหภูมิของตัวอย่าง พบว่าเมื่อเผาตัวอย่างที่มีค่า CaO ปานกลางที่อุณหภูมิ 1,100°C เกิดแร่เกห์เลไนต์ (Gehlenite) ซึ่งเป็นแร่ชนิดเดียวกันกับที่พบในตัวอย่างตะกรันที่ได้เก็บตัวอย่างมาจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะจำนวน 3 ตัวอย่าง จากนั้นได้นำตัวอย่างถ่านหินที่ผสมกันระหว่าง ตัวอย่างที่มีค่า CaO ต่ำ กับตัวอย่างที่มีค่า CaO ปานกลาง ในอัตราส่วนต่างๆ นำไปเผาที่อุณหภูมิต่างๆ กันพบว่า ตัวอย่างถ่านหินผสมระหว่าง ที่มีค่า CaO ต่ำ 20% กับ ที่มีค่า CaO ปานกลาง 80% (IT = 1,322°C) เกิดแร่เกห์เลไนต์ที่อุณหภูมิระหว่าง 800°C-1,100°C และเมื่อนำตัวอย่างเถ้ามาหาองค์ประกอบออกไซด์ ได้แก่ปริมาณร้อยละของ SiO₂, CaO และ Al₂O₃ มาพล็อตลงใน Ternary phase diagram พบว่าตัวอย่างที่มีค่า CaO ปานกลางและตัวอย่างถ่านหินผสมดังกล่าวข้างต้น อยู่ในบริเวณของแร่เกห์เลไนต์ที่มีอุณหภูมิของการหลอมตัวต่ำ อาจสรุปได้ว่าการควบคุมมิให้ปริมาณ SiO₂, CaO และ Al₂O₃ ในเถ้าถ่านหินเพื่อมิให้อยู่ในบริเวณของการหลอมตัวต่ำ (Low-temperature eutectic region) จะป้องกันการเกิดตะกรันได้en
dc.description.abstractalternativeBoiler slagging has been recognized as one of the most troublesome operational problems associated with pulverized coal combustion of Mae Moh power plants. It has been noticed that CaO content in the range of 23-35% of coal ash creates boiler slagging problem. Study of minerals and ash fusion characteristics of three kinds of coal samples namely low CaO (2.24%), medium CaO (27.34%) and high (31.81%) have been conducted. It has been found that initial deforming temperature (IT) of the ash of the three samples respectively are > 1,500°C, 1,197°C and 1,301°C. The IT analyses show 27.34% CaO has the lowest IT (1,197°C) which is lower than minimum temperature in boiler (1,200°C). These samples were put in furnaces to be combusted at 800°C-1,200°C at 100°C intervals and ashes obtained were analyzed by XRD to identity mineral phases contained in the ashes. Gehlenite has been identified in coal ash (slag) when medium CaO coal was combusted. Boiler slags collected from Mae Moh power plants has also been found to contain gehlenite. Blending of low and medium CaO samples at different proportion has been done and gehlenite has been identified at the temperature between 800°C-1,000°C in the blended coal samples (especially with 20% low CaO + 80% medium CaO sample). Three oxides namely SiO₂, CaO and Al₂O₃ analyzed in the coal ash plotted into the ternary phase diagram shows that medium CaO sample is in gehlenite area of the diagram which is closed to low-melting eutectic temperature region.en
dc.format.extent3522671 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1514-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงไฟฟ้าแม่เมาะen
dc.subjectตะกรันen
dc.subjectไฟฟ้า -- เครื่องมือและอุปกรณ์en
dc.subjectหม้อไอน้ำen
dc.titleการศึกษาปัจจัยที่ควบคุมการเกิดตะกรันในหม้อไอน้ำของโรงไฟฟ้าแม่เมาะen
dc.title.alternativeStudy of factors controlling slag formation in boiler of Mae Moh power planten
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมทรัพยากรธรณีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPinyo.M@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1514-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pitha_sr.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.