Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16143
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาโนช โลหเตปานนท์-
dc.contributor.authorโสภิตา ศิลาอ่อน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2011-10-18T14:43:24Z-
dc.date.available2011-10-18T14:43:24Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16143-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการประยุกต์ใช้เทคนิคการผลิตแบบลีนและผังสายธารคุณค่า (Lean and Value Stream Mapping : VSM) ในอุตสาหกรรมการผลิตยาและเวชภัณฑ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต โดยการสร้างแผนผังสายธารคุณค่าสถานะปัจจุบัน (Current State Value Strem Map) เพื่อช่วยจำแนกคุณค่าของกระบวนการผลิต และระบุความสูญเปล่า (Waste) ร่วมกับการสร้างแบบจำลองสถานการณ์ระบบผลิตปัจจุบัน เพื่อใช้วิเคราะห์ทางเลือก ประเมินผล และพัฒนาแผนผังสายธารคุณค่าสถานะอานาคต (Future State Value Stream Map) งานวิจัยนี้ใช้การประเมินผล โดยการสร้างแบบจำลองสถานการณ์อนาคตโดยนำเครื่องมือและเทคนิคของระบบการผลิตแบบลีนมาประยุกต์ใช้ 5 เทคนิค ได้แก่ การสร้างการไหลทีละชิ้นหรือการไหลอย่างต่อเนื่อง การจัดผังโรงงานตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ การลดขั้นตอนการผลิต การบำรุงรักษาแบบทุกคนมีส่วนร่วม และการลดเวลาปรับเปลี่ยนเครื่องจักร ผลการปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยประยุกต์ใช้เทคนิคการผลิตแบบลีนผ่านแบบจำลองสถานการณ์ พบว่าการประยุกต์ใช้การไหลอย่างต่อเนื่อง ร่วมกับการจัดผังโรงงานตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ และการลดขั้นตอนการผลิต มีประสิทธิภาพปรับปรุงในกระบวนการผลิตยา Simvast สูงสุด คือ ลดระยะเวลาในการดำเนินการจาก 19 วัน เหลือ 9 วัน คิดเป็นร้อยละ 50.82 ลดปริมาณสินค้าคงคลังระหว่างกระบวนการจาก 17,520,000 เม็ด เหลือ 5,272,000 เม็ด คิดเป็นร้อยละ 69.33 ผลิตภัณฑ์ การประยุกต์ใช้การปรับผังโรงงานตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ ร่วมกับการลดขั้นตอนการผลิต และการบำรุงรักษาแบบทุกคนมีส่วนร่วมมีประสิทธิภาพการปรับปรุงในกระบวนการผลิตยา Metformin สูงสุด คือ ลดระยะเวลาในการดำเนินการจาก 18.78 วัน เหลือ 13.48 วัน คิดเป็นร้อยละ 28.22 ลดปริมาณสินค้าคงคลังระหว่างกระบวนการจาก 9,280,000 เม็ด เหลือ 5,616,000 เม็ด คิดเป็นร้อยละ 39.53en
dc.description.abstractalternativeThis thesis is an application of lean manufacturing and value stream mapping in Pharmaceutical Industry. The objective of this study is to improve efficiency in the production process by using lean tool and techniques. The process is to identify non value-added activity (NVA) and eliminating them from the current production line. The simulation model is used for option analysis ,evaluation and modification of the value stream mapping. The future manufacturing process is evaluated by implementing the knowledge of lean manufacturing and analysis the result by using the simulation model. The results from the simulation are as followings. For Simvast, production lead time is reduced from 19 days to 9 days or decreasing by 50.82 % , Inventory in work in process is reduced from 17,520,000 unit to 5,272,000 unit or decreasing by 69.33 %. For Metformin, production lead time is reduced from 18.78 days to 13.48 days or decreasing by 28.22 % , inventory in work in process is reduced from 9,280,000 unit to 5,616,000 unit or decreasing by 39.53 %.en
dc.format.extent1934877 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.294-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอุตสาหกรรมยาen
dc.subjectเวชภัณฑ์en
dc.subjectการผลิตแบบลีนen
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en
dc.titleการประยุกต์ใช้เทคนิคลีนและผังสายธารคุณค่าในการจัดการโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมยาและเวชภัณฑ์en
dc.title.alternativeAn application of lean and value stream mapping in pharmaceutical industryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorManoj.L@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.294-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sopita_si.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.