Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16295
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสราวุธ อนันตชาติ-
dc.contributor.authorดิสพร อ่อนนุช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-12-06T04:31:41Z-
dc.date.available2011-12-06T04:31:41Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16295-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง 1). ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับการแสดงออกของตนกับความอ่อนไหวในตราสินค้า 2). ความสัมพันธ์ระหว่างการสังคมกรณ์ของผู้บริโภคกับความอ่อนไหวในตราสินค้า และ 3). ความสัมพันธ์ระหว่างความอ่อนไหวในตราสินค้ากับคุณค่าตราสินค้า โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างอายุ 17-25 ปี ที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 420 คน ทั้งนี้ ประเภทสินค้าที่นำมาใช้ในการวิจัย ได้แก่ สินค้าที่มีความเกี่ยวพันสูงและมีจุดมุ่งหมายในการบริโภค เพื่อได้รับประโยชน์จากหน้าที่และคุณสมบัติต่างๆ ของสินค้า คือ กล้องดิจิตอล และสินค้าที่มีความเกี่ยวพันสูงและมีจุดมุ่งหมายในการบริโภค เพื่อได้รับประสบการณ์ ทางด้านอารมณ์ความรู้สึก และความพึงพอใจ คือ นาฬิกาข้อมือ ผลการวิจัยพบว่า การกำกับการแสดงออกของตนมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความอ่อนไหวในตราสินค้าของสินค้าทั้ง 2 ประเภท อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่ตัวแทนการสังคมกรณ์ของผู้บริโภค ได้แก่ กลุ่มเพื่อนมีความสัมพันธ์เชิงบวก กับความอ่อนไหวในตราสินค้า นาฬิกาข้อมือ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเพียงประเภทเดียวเท่านั้น ส่วนพ่อแม่กลับมีความสัมพันธ์เชิงลบกับความอ่อนไหวในตราสินค้าทั้ง 2 ประเภท อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และสื่อมวลชนไม่มีความสัมพันธ์กับความอ่อนไหวในตราสินค้าทั้ง 2 ประเภท แต่อย่างใด สุดท้ายความอ่อนไหวในตราสินค้ามีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณค่าตราสินค้าของสินค้าทั้ง 2 ประเภทอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติด้วยเช่นกันen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey research were to examine: 1) the relationship between self-monitoring and brand sensitivity, 2) the relationship between consumer socializations and brand sensitivity, and 3) the relationship between brand sensitivity and brand equity. Questionnaires were used to collect data from 420 samples, aged 17-25 years old in Bangkok. Digital camera was chosen as the representative of highly-involved and utilitarian products while wristwatch was chosen as the representative of highly-involved and hedonic products. The finding showed that self-monitoring was positively correlated with brand sensitivity in both product categories. For consumer socializations, peer agent was positively correlated with brand sensitivity of wristwatch only while parent agent was negatively correlated with brand sensitivity in both product categories. However, media agent produced insignificant relationship with brand sensitivity of both digital camera and wristwatch. Finally, brand sensitivity was also positively correlated with brand equity.en
dc.format.extent27217497 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.233-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen
dc.subjectชื่อตราผลิตภัณฑ์en
dc.titleอิทธิพลของปัจจัยด้านความแตกต่างเชิงสังคมระหว่างบุคคลของผู้บริโภคต่อความอ่อนไหวในตราสินค้าและคุณค่าตราสินค้าen
dc.title.alternativeInfluences of consumer's socially-individual different factors on brand sensitivity and equityen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการโฆษณาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSaravudh.A@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.233-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
disaporn_on.pdf26.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.