Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16378
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุธา ขาวเธียร | - |
dc.contributor.author | พิชญ์ภัค เจียรพันธ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2011-12-19 | - |
dc.date.available | 2011-12-19 | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16378 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | น้ำทิ้งฟาร์มสุกรยังคงมีปริมาณธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชเจือปนอยู่ จากการศึกษาที่ผ่านมามีการนำธาตุอาหารในน้ำทิ้งฟาร์มสุกรกลับมาใช้ประโยชน์ โดยการตกผลึกแมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต (Magnesium Ammonium Phosphate, MAP) ซึ่งสภาวะที่เหมาะสมในการตกผลึก MAP ขึ้นอยู่กับอัตราส่วนโดยโมลของแมกนีเซียม ต่อแอมโมเนียมต่อฟอสเฟต (Mg²⁺: NH₄⁺: PO₄³⁻) ค่าพีเอช (pH) เวลาในการกวนผสม และสิ่งเจือปนในน้ำทิ้ง เป็นต้น งานวิจัยนี้ศึกษาผลกระทบของอัตราส่วนโดยโมลของ แมกนีเซียมต่อฟอสเฟต (Mg²⁺: PO₄³⁻) และค่าพีเอชในน้ำทิ้งฟาร์มสุกรต่อปริมาณและลักษณะผลึก MAP ที่เกิดขึ้น โดยที่ตะกอนผลึก MAP ดังกล่าวสามารถนำไปใช้เป็นปุ๋ยสำหรับทำการเกษตรได้ ผลการศึกษาพบว่า สภาวะที่เหมาะสมในการตกผลึก MAP คือ ที่อัตราส่วนโดยโมลของแมกนีเซียมต่อฟอสเฟตเท่ากับ 1.2: 1และค่าพีเอชของน้ำเท่ากับ 8 ถึง 9 นอกจากนี้ การตกผลึก MAP สามารถบำบัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสออกจากน้ำทิ้งฟาร์มสุกรได้ใน ขั้นตอนเดียว โดยที่อัตราส่วนโดยโมลเท่ากับ 1.2: 1 ที่ค่าพีเอชของน้ำเท่ากับ 8 ถึง 9 สามารถบำบัดไนโตรเจนได้ 35% และสามารถบำบัดฟอสฟอรัสได้ 50% ตามลำดับ | en |
dc.description.abstractalternative | The wastewater effluent from swine farms typically contains nutrients which are necessary for plant growth. Previous research showed that magnesium ammonium phosphate (MAP) precipitation is one of the methods for recovering these nutrients. The important parameters for the precipitation include Mg²⁺: PO₄³⁻ molar ratio, solution pH, mixing time and impurities in the effluent. This research was carried out to investigate the effects of the Mg²⁺: PO₄³⁻ molar ratio and solution pH of the effluent from swine farms on dosage and the morphology of the MAP precipitation. The precipitation can be used as the agricultural fertilizer. The results indicated that the Mg²⁺: PO₄³⁻ molar ratios of 1.2: 1 and solution pH of 8 – 9 were the optimum conditions of MAP precipitation. Furthermore, MAP precipitation can be treated nitrogen and phosphorous from swine farms in one steps. The Mg²⁺: PO₄³⁻ molar ratios of 1.2: 1 and solution pH range between 8-9 had removal efficiency of nitrogen of 35.0% and had removal efficiency of phosphorous of 50%. | en |
dc.format.extent | 1867830 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1055 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | สุกร -- การเลี้ยง | en |
dc.subject | ของเสียจากสัตว์ -- การนำกลับมาใช้ใหม่ | en |
dc.subject | น้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีแบบไร้ออกซิเจน | en |
dc.subject | การตกตะกอน (เคมี) | en |
dc.subject | ธาตุอาหารพืช | en |
dc.title | ปริมาณธาตุอาหารจากน้ำทิ้งฟาร์มสุกรที่เหมาะสมต่อการตกผลึก แมกนีเซียม แอมโมเนียม ฟอสเฟต | en |
dc.title.alternative | Nutrient contents from swine wastewater for optimum magnesium ammonium phosphate precipitation | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Sutha.K@eng.chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.1055 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
pichpak_je.pdf | 1.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.