Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16579
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกนิษฐ์ ศิริจันทร์-
dc.contributor.authorณฐิกา ครองยุทธ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-01-25T13:18:12Z-
dc.date.available2012-01-25T13:18:12Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16579-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractปัญหาสำคัญประการหนึ่งในปรัชญาภาษา ได้แก่ ปัญหาที่ว่าอะไรคือเกณฑ์กำหนดความหมาย เกณฑ์นั้นเกี่ยวข้องกับสภาวะจิตหรือโลกภายนอก ทฤษฎีความหมายกระแสหลัก เช่น ทฤษฎีความหมายแบบเฟรเก้ มีแนวคิดที่ว่าเกณฑ์ในการกำหนดความหมายนั้นมีความสัมพันธ์กับสภาวะจิต ซึ่งอาจเรียกได้ว่าเป็นทัศนะแบบเกณฑ์กำหนดความหมายจากภายใน ฮิลลารี่ พัทนัม โต้แย้งทัศนะดังกล่าว โดยการเสนอตัวอย่างโลกแฝดเพื่อแสดงให้เห็นว่า สภาวะจิตไม่เพียงพอแก่การกำหนดความหมาย และทัศนะนั้นยังไม่สามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับโลกภายนอกได้ พัทนัมจึงได้เสนอแนวคิดเรื่องเกณฑ์กำหนดความจากภายนอกซึ่งอธิบายว่า ความหมายของคำหรือประโยคมีที่มาจากการใช้คำของคนในชุมชนและโลกภายนอก ได้แก่ ธรรมชาติที่แท้จริงของสิ่ง แนวคิดของพัทนัมเป็นที่ถกเถียงอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีข้อโต้แย้งจากกลุ่มของเกณฑ์กำหนดความหมายจากภายใน ซึ่งวิทยานิพนธ์เล่มนี้เลือกศึกษาข้อโต้แย้งของ จอห์น เซิร์ล อย่างไรก็ดี ข้อโต้แย้งของเซิร์ลยังคงมีข้อบกพร่องที่ทำให้ไม่สามารถท้าทายแนวคิดของพัทนัมได้ วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีข้อสรุปว่า ถึงแม้ว่าแนวคิดของเรื่องเกณฑ์กำหนดความหมายจากภายนอก สามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับโลกภายนอกได้ แต่ไม่สามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับมนุษย์en
dc.description.abstractalternativeAn important problem in philosophy of language concerns the problem of the condition that determines meaning. A question is whether the condition involves mental states or the external world. Hilary Putnam argues that a traditional view in theory of meaning, such as the Fregean theory, tends to be semantic internalism. He raises the Twin Earth thought experiment in order to show that meaning is determined by external conditions, namely, the social experts and the natural essence of things in the external world. His view is then called semantic externalism. However, Putnam’s view is widely debated. This thesis considers John Searle’s internalist view and finds out that Searle’s argument is not succeed in challenging Putnam’s view. The thesis concludes that although Putnam’s semantic externalism shows how language relates to the world, it cannot explain the relation of language and human.en
dc.format.extent819461 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.170-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพัทนัม, ฮิลลารีen
dc.subjectภาษา -- ปรัชญาen
dc.subjectความหมาย (จิตวิทยา)en
dc.titleแนวคิดเรื่องเกณฑ์กำหนดความหมายจากภายนอกในทัศนะของพัทนัมen
dc.title.alternativeSemantic externalism in Putnamen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineปรัชญาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisork_miti03@yahoo.co.uk-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.170-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Natika_Kr.pdf800.25 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.