Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16890
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัทธร พิทยรัตน์เสถียร-
dc.contributor.advisorระพีพร ศุภมหิธร-
dc.contributor.authorปาริชาด สุภักวัฒนะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-13T15:31:45Z-
dc.date.available2012-02-13T15:31:45Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16890-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของเด็ก ออทิสติกก่อนและหลังการได้รับวิธีเรื่องราวทางสังคม และเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมของเด็กออ ทิสติกก่อนและหลังการได้รับวิธีเรื่องราวทางสังคม ประชากรที่ใช้ศึกษา คือ เด็กออทิสติกที่เรียนอยู่ ในห้องเรียนโครงการการศึกษาพิเศษ ศูนย์วิจัยเพื่อเด็กที่ต้องการความช่วยเหลือพิเศษ ในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ในปีการศึกษา 2552 จำนวน 12 คน โดยใช้แบบประเมิน พฤติกรรมเด็กที่โรงเรียนในแต่ละสถานการณ์ แบบประเมินพฤติกรรมเด็กที่บ้านในแต่ละ สถานการณ์ กิจกรรมเรื่องราวทางสังคม 8 เรื่อง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ( Descriptive Statistic ) ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าอัตราส่วนร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตามความเหมาะสมของชนิดข้อมูล และการเปรียบเทียบพฤติกรรมของเด็ก ออทิสติกก่อนและหลังได้รับการสอนเรื่องราวทางสังคมโดยใช้ Pair t - test ผลการศึกษาพบว่าพฤติกรรมของเด็กออทิสติกจากการประเมินของอาจารย์มีแนวโน้ม ดีขึ้นกว่าเดิมหลังได้รับการสอนเรื่องราวทางสังคมและหลังติดตาม 1 เดือน พฤติกรรมของเด็ก ออทิสติกดีขึ้นกว่าเดิมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.001[superscript *] เด็กออทิสติกส่วนใหญ่ 11 คน จาก 12 คน มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ลดลงพฤติกรรมของเด็กออทิสติกจากการประเมินของผู้ปกครองหลังได้รับการสอนเรื่องราวทางสังคมไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งจากการประเมินทันทีและหลังจากติดตามไปเป็นเวลา 1 เดือนen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of these Experimental study was found out behavior of autistic children before and after receive social stories interventions. and compare behavior of autistic children before and after receive social stories interventions. Population studies were 12 elementary students grade 1 and grade 2 at Educational Research Center for Children with Special Needs (Autistic children) Kasetsart University Laboratory School Academic year 2009. The research instruments were demographic questionnaire , School Situation Questionnaire, Home Situation Questionnaire , 8 social stories intervention. Data was analyze by descriptive statistic such as data percentage ,mean and standard deviation as per accordance to collect data. Compare behavior of autistic children before and after receive social stories interventions was analyzed by pair t – test. The result of this study shows 1.assess by teacher behavior of autistic children after receive social stories interventions and one month follow up had batter than before receive social stories interventions was significant p <.001[superscript *]. inappropriate behavior of 11 autistic children was reduce 2. assess by parent behavior of autistic children after receive social stories interventions and one month follow up was not significanten
dc.format.extent6734586 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.323-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเด็กออทิสติกen
dc.subjectทักษะทางสังคมในเด็กen
dc.titleการพัฒนาพฤติกรรมของเด็กออทิสติกโดยใช้วิธีเรื่องราวทางสังคมen
dc.title.alternativeImproving behaviors of autistic children by social storiesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตเวชศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisordrnuttorn@yahoo.com-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.323-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Parichart_Su.pdf6.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.