Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18426
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม-
dc.contributor.authorนพรัตน์ ชูชาติวรรณกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-22T22:47:17Z-
dc.date.available2012-03-22T22:47:17Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn9745649546-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18426-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดประสงค์ที่จะศึกษาสภาพปัจจุบันของการรับรู้สมรรถภาพนักวิจัยการศึกษาของครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเปรียบเทียบความแตกต่างของการรับรู้สมรรถภาพนักวิจัยการศึกษาของครุศาสตรมหาบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาต่างภาควิชากัน โดยใช้กลุ่มตัวอย่างครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปีการศึกษา 2526 และ 2527 จำนวน 379 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสำรวจสมรรถภาพนักวิจัยส่งไปทางไปรษณีย์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติมัธยฐาน พิสัยระหว่างควอไทล์ ทดสอบความแตกต่างของค่ามัธยฐานในการับรู้สมรรถภาพนักวิจัยของครุศาสตรมหาบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากภาควิชาที่ต่างกันด้วยวิธีการทดสอบของครัสคาล-วอลลิส ข้อค้นพบที่สำคัญของการวิจัยคือ 1. การรับรู้สมรรถภาพนักวิจัยด้านจิตอารมณ์ทั้งโดยส่วนรวม และเป็นราย สมรรถภาพของครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อยู่ในระดับสูง และไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ของค่ามัธยฐานเป็นรายคู่ระหว่างภาควิชา 2. การรับรู้สมรรถภาพนักวิจัยด้านความรู้ความสามารถโดยส่วนรวมของครุศาสตรมหาบัณฑิตอยู่ในระดับปานกลาง จากสมรรถภาพนักวิจัยด้านความรู้ความสามารถทั้ง 4 ด้าน มี 2 ด้านที่มหาบัณฑิตรับรู้ว่ามิอยู่ในระดับปานกลาง คือ ความรู้ความสามารถด้านเนื้อหาสาระที่เป็นพื้นฐานเพื่อการวิจัย และความรู้ความสามารถในระเบียบวิธีวิจัย โดยเฉพาะรายสมรรถภาพที่เกี่ยวกับความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์มหาบัณฑิตรับรู้ว่ามีอยู่ในระดับต่ำ ส่วนความแตกต่างของค่ามัธยฐานในการรับรู้สมรรถภาพนักวิจัยด้านความรู้ความสามารถเป็นรายคู่ระหว่างภาควิชาปรากฏว่า พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ในระดับค้าน และรายสมรรถภาพคือ ก. สมรรถภาพด้านความรู้ความสามารถในเนื้อหาสาระที่เป็นพื้นฐานเพื่อการวิจัย มหาบัณฑิตภาควิชาพยาบาลศึกษารับรู้ว่ามีอยู่ในระดับที่สูงกว่ามหาบัณฑิตภาควิชาประถมศึกษา ข. รายสมรรถภาพความรู้ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานเพื่อการวิจัย มหาบัณฑิตภาควิชาวิจัยการศึกษา สถิติการศึกษา และการวัดและประเมินผลการศึกษารับรู้ว่ามีสูงกว่ามหาบัณฑิตภาควิชาประถมศึกษา ค. รายสมรรถภาพความรู้ด้านบริหารและการจัดการ มหาบัณฑิตภาควิชาบริหารการศึกษา และมหาบัณฑิตภาควิชาพยาบาลศึกษา รับรู้ว่าสูงกว่ามหาบัณฑิตภาควิชามัธยมศึกษา และมหาบัณฑิตภาควิชาวิจัยการศึกษาสาขาวิจัยการศึกษา สถิติการศึกษา และการวัดและประเมินผลการศึกษา ง. รายสมรรถภาพความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ที่เป็นพื้นฐานเพื่อการวิจัย และสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่องมือที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ได้ มหาบัณฑิตภาควิชาวิจัยการศึกษาสาขาวิจัยการศึกษา สถิติการศึกษา และการวัดและประเมินผลการศึกษารับรู้ว่ามีสูงกว่ามหาบัณฑิตภาควิชาประถมศึกษา และมหาบัณฑิตภาควิชามัธยมศึกษา จ. รายสมรรถภาพที่เกี่ยวกับสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ และเครื่องมือที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ได้ มหาบัณฑิตภาควิชาวิจัยการศึกษา สาขาวิจัยการศึกษา สถิติการศึกษา และการวัดและประเมินผลการศึกษายังรับรู้ว่ามีสูงกว่ามหาบัณฑิตภาควิชาพลศึกษาอีกภาควิชาหนึ่งด้วย-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this investigation were to study researchers competencies of Master of Education graduates from Chulalongkorn University as perceived by themselves and to compare the level of their perceived competencies among graduates from different departments. A sample of 379 graduates in 1983 and 1984 academic year from 10 departments were used in the study. Data were collected by using the Educational Researcher Competencies Inventory sending by mail. Median and interquatile range of level of competencies were computed item by item, and Kruskal-Wallis Test was used to test significance of the hypothesis of no differences in the level of perceived competencies among graduates from different departments. The major findings are as follows: 1. The researchers competencies in the affective domain, as perceived by the master of education graduates from Chulalongkorn University were at high level. There were no significant difference in the medians of perceived competencies among the graduates from different departments. 2. Generally, the perceived researchers competencies in the cognitive domain were at moderate level. Specifically, there were two out of sub domain that the graduates perceived at moderate level. They were fundamental knowledge in educational research and knowledge and skill in research methodology. Especially, the competency of computer literacy for research was perceived at low level. There were significant differences in the medians of level the perceived of the competencies in the cognitive domain among graduates from different departments, in the following sub domain and competencies. a) In the sub domain of fundamental knowledge in educational research, the graduates from the Nursing Education Department perceived higher than the graduates from the Elementary Education Department. b) In the competency of fundamental mathematics for research, the graduates from the department of Educational Research (majoring in Educational Research, Educational Statistics, and Educational Measurement and Evaluation) perceived higher than those of graduates from the department of Elementary Education. c) In the competency of administration and management, the graduates from the department of Education Administration and the department of Nursing Education perceived higher than the graduates from the department of Secondary Education and the department of Educational Research (majoring in Educational Research, Educational Statistics, and Educational Measurement and Evaluation) d) In the competencies of computer literacy for research and using computer devices, the graduates from the department of Educational Research (majoring in Educational Research, Educational Statistics, and Educational Measurement and Evaluation) perceived higher than the graduates from the department of Elementary Education and the department of Secondary Education. e) In the competencies of using computer devices, the graduates from the department of Educational Research (majoring in Educational Research, Educational Statistics, and Educational Measurement and Evaluation) were higher than the graduates from the department of physical Education.-
dc.format.extent437552 bytes-
dc.format.extent342640 bytes-
dc.format.extent633744 bytes-
dc.format.extent466685 bytes-
dc.format.extent1017393 bytes-
dc.format.extent507312 bytes-
dc.format.extent477739 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ -- บัณฑิตen
dc.subjectนักวิจัยen
dc.titleสมรรถภาพนักวิจัยของครุศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2526 และ 2527 ตามการรับรู้ของตนเองen
dc.title.alternativeResearcher competencies of master of education graduates Chulalongkorn University in academic year 1983 and 1984 as perceived by themselvesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSuwatana.S@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nopharat_ch_front.pdf427.3 kBAdobe PDFView/Open
Nopharat_ch_ch1.pdf334.61 kBAdobe PDFView/Open
Nopharat_ch_ch2.pdf618.89 kBAdobe PDFView/Open
Nopharat_ch_ch3.pdf455.75 kBAdobe PDFView/Open
Nopharat_ch_ch4.pdf993.55 kBAdobe PDFView/Open
Nopharat_ch_ch5.pdf495.42 kBAdobe PDFView/Open
Nopharat_ch_back.pdf466.54 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.