Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18498
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรศักดิ์ เพียรชอบ-
dc.contributor.advisorถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์-
dc.contributor.authorฐิณีวรรณ คชวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2012-03-24T04:30:27Z-
dc.date.available2012-03-24T04:30:27Z-
dc.date.issued2524-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18498-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 วิชาพลศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถามให้ตรวจคำตอบ แบบมาตราส่วนประเมินค่า และแบบปลายเปิด โดยส่งแบบสอบถามไปยังครูพลศึกษาโรงเรียนรัฐบาล และโรงเรียนราษฎร์จำนวน 200 คน ได้รับคืนมาจำนวน 189 ชุดคิดเป็นร้อยละ 94.50 นำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าที (t-test) นำเสนอในรูปตารางและความเรียง ผลการวิจัยพบว่า ในด้านความมุ่งหมายของหลักสูตร ครูพลศึกษาเห็นว่าเป็นความมุ่งหมายที่เหมาะสมดีแล้ว เนื้อหาวิชา รายวิชาที่ประสบปัญหาในด้านการสอนมากคือ กระบี่ ในเรื่องเกี่ยวกับนักเรียนไม่มีความสนใจในกิจกรรมที่เรียน และเนื้อหาวิชากมากเกินไป ในวิชาตะกร้อ จะมีปัญหามากเกี่ยวกับเนื้อหาไม่เหมาะสมกับระดับของนักเรียน และอาจารย์ไม่มีความถนัดในการสอน และในวิชายืดหยุ่นจะมีปัญหามากเกี่ยวกับการไม่สามารถวัดและประเมินผลได้ทุกด้าน ครูพลศึกษาเห็นว่าวิชาที่ควรบรรจุอยู่ในหมวดวิชาบังคับคือ วอลเล่ย์บอล แบดมินตัน กิจกรรมเข้าจังหวะ ฟุตบอล และศิลปป้องกันตัว นอกจากนี้โรงเรียนส่วนใหญ่ยังขาดความพร้อมเรื่องของอุปกรณ์ และสถานที่ โดยเฉพาะยิ่งวิชากรีฑา เทเบิลเทนนิส และยืดหยุ่น ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นของความคิดเห็นด้านต่างๆเกี่ยวกับการใช้หลักสูตรวิชาพลศึกษา ระหว่างครูพลศึกษาโรงเรียนรัฐบาล และโรงเรียนราษฎร์ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the problems in implementing the physical curriculum B.E.2521 in the lower secondary education in Bangkok metropolis. Two hundred questionnaires, in the forms of check list, rating scales, and open-ended, were sent to physical education teachers in the public and the private schools. One hundred and eight nine or 94.50 percent of all questionnaires were returned. The data were analyzed in terms of percentages, mean, standard deviation, and the t-test. It was found that: The objectives of physical education curriculum were suitable and practicable. Concerning the curriculum content, the main problems in teaching “krabi” were on the lack of interest on the part of students and too much course content; in trakraw, the unsuitable course content to the students’ capacity as well as the lack of activity skill on the part of the teacher; and in stunt and tumbling, the difficulty in evaluating student’s achievement. All teachers agreed that the activity should be included as required course were: Volleyball, badminton, football and self defense. In addition, most of the schools were still lacking of facilities and equipment in teaching physical education, especially for track and field, table tennis, and stunt and tumbling. It was also found that there was no significant difference between the public and the private school teachers’ opinions on the implementation of the physical education curriculum at the 0.05 level.-
dc.format.extent301567 bytes-
dc.format.extent360622 bytes-
dc.format.extent374420 bytes-
dc.format.extent244644 bytes-
dc.format.extent626348 bytes-
dc.format.extent333781 bytes-
dc.format.extent723290 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพลศึกษา -- หลักสูตรen
dc.titleปัญหาการใช้หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 วิชาพลศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeProblems in implementing lower secondary school physical education curriculum B.E. 2521 in Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tineeweee_Ko_front.pdf294.5 kBAdobe PDFView/Open
Tineeweee_Ko_ch1.pdf352.17 kBAdobe PDFView/Open
Tineeweee_Ko_ch2.pdf365.64 kBAdobe PDFView/Open
Tineeweee_Ko_ch3.pdf238.91 kBAdobe PDFView/Open
Tineeweee_Ko_ch4.pdf611.67 kBAdobe PDFView/Open
Tineeweee_Ko_ch5.pdf325.96 kBAdobe PDFView/Open
Tineeweee_Ko_back.pdf706.34 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.