Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18848
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพลิน ผ่องใส-
dc.contributor.authorธีระพล ตันพานิชย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2012-03-28T14:29:35Z-
dc.date.available2012-03-28T14:29:35Z-
dc.date.issued2524-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18848-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พศ.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524en
dc.description.abstractในการประกอบธุรกิจเป็นที่ยอมรับกันแล้วว่า การจัดการที่เป็นหัวใจสำคัญในการดำเนินงานที่ทำให้ธุรกิจประสบความส ำเร็จตามวัตถุประสงค์ ดังนั้นเพื่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินงานอยู่ได้ และขยายตัวก้าวหน้ายิ่งขึ้น วิทยานิพนธ์นี้จึงได้ศึกษาถึงแนวโน้มการจัดการของธุรกิจขนาดใหญ่ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้ประกอบธุรกิจได้นำไปใช้ประโยชน์ต่อธุรกิจของ ตน และต่อประเทศชาติอันเป็นส่วนรวมต่อไป ธุรกิจขนาดใหญ่ได้จากการทำวิจัยเรื่อง 100 อันดับแรกของธุรกิจในประเทศไทย พ.ศ. 2519 ที่คณาจารย์คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดทำขึ้นเป็นตัวแทนของธุรกิจขนาดใหญ่ ในการวิจัยได้ออกแบบสอบถามและสัมภาษณ์ผู้จัดการแต่ละธุรกิจ เพื่อให้ทราบถึงการจัดการธุรกิจว่ามี แนวความคิด หลักการ และแบบจำลองการจัดการแบบใดที่นำมาใช้ในการดำเนินงาน ทั้งนี้จะพิจารณาถึงการจัดการที่จำแนกตามหน้าที่ 5 ประการคือ 1. การวางแผน ศึกษาถึงความสำคัญของหน่วยวางแผน การมีส่วนร่วมในการวางแผนของผู้บริหารในแต่ละระดับ ประเภทของแผนและระยะเวลาของแผนแต่ละประเภท 2. การจัดองค์การ ศึกษาถึงแผนภูมิแสดงสายงาน และการกำหนดลักษณะของตำแหน่งหน้าที่ 3. การจัดคนเข้าทำงาน ศึกษาถึงการแสวงหาบุคคลเข้ามาทำงาน การวางแผนทางด้านอัตรากำลังคน และการพัฒนาผู้บริหารในแต่ละระดับ 4. การสั่งการ ศึกษาวิธีการสั่งการของผู้บังคับบัญชา การรายงานผลการดำเนินงานของผู้ใต้บังคับบัญชา และการติดต่อสื่อสาร 5. การควบคุม ศึกษาถึงการควบคุมการทำงานของแต่ละหน่วยงานให้เป็นไปตามแผน และวิธีการควบคุมการทำงานของผู้บริหารในแต่ละระดับ รูปแบบการจัดการที่ใช้เป็นหลักในการศึกษาเปรียบเทียบ คือ แบบจำลองการจัดการแบบดั้งเดิม แบบมนุษยสัมพันธ์ และแบบทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจัดจำแนกตามแนวความคิดของเรมอนด์ อี มายส์ จากผลการศึกษาการจัดการของธุรกิจขนาดใหญ่ ชาวต่างชาติที่มีส่วนมากที่สุดในการร่วมลงทุนในธุรกิจขนาดใหญ่ในประเ ทศคือญี่ปุน รองลงมาได้แก่สหรัฐอเมริกา เนเธอร์แลนด์ อังกฤษ และสวิตเซอร์แลนด์ ตามลำดับ ธุรกิจที่ชาวญี่ปุ่นมีส่วนร่วมในการลงทุน และชาวยุโรปมีส่วนร่วมในการลงทุน มีแนวโน้มการจัดการตามแบบจำลองการจัดการแบบมนุษยสัมพันธ์ ส่วนธุรกิจที่ชาวสหรัฐอเมริกันมีส่วนร่วมในการลงทุนมีแนวโน้มการจัดการ ตามแบบจำลองการจัดการแบบทรัพยากรมนุษย์ รูปแบบการจัดการของธุรกิจขนาดใหญ่มีความแตกต่างกัน เมื่อพิจารณาถึงการจัดการที่จำแนกตามหน้าที่ กล่าวโดยสรุปแล้วธุรกิจขนาดใหญ่มีแนวทางในการจัดการโดยใช้แนวคว ามคิดในการจัดการแบบดั้งเดิมแบบมนุษยสัมพันธ์และแบบทรัพยากรมนุษย์ ผสมผสานกัน แต่มีแนวโน้มค่อนข้างไปด้านมนุษยสัมพันธ์ ในการศึกษาได้แยกประเภทธุรกิจต่างๆ ปรากฏว่าการจัดการในธุรกิจประเภทเดียวกัน มีความแตกต่างกัน เมื่อพิจารณาการจัดการที่จำแนกตามหน้าที่ทุกประเภทธุรกิจ ยกเว้นธุรกิจประเภทวัสดุก่อสร้าง เพราะเป็นบริษัทในเครือเดียวกัน ส่วนแนวความคิดในการจัดการ ได้มีการผสมผสานทั้ 3 แบบจำลอง โดยมีแนวโน้มของการจัดการต่อไปในแบบจำลองการจัดการแบบมนุษยสัม พันธ์ เช่น ธุรกิจประเภทน้ำมัน สิ่งทอ รถยนต์ฯ ยกเว้นธุรกิจประเภทข้าว และน้ำตาล มีแนวโน้มการจัดการไปในแบบจำลองการจัดการแบบดั้งเดิม การจัดการที่จะทำให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุดนั้น ผู้บริหารควรจะเล็งเห็นความสำคัญเกี่ยวกับคน และวิธีการดำเนินงานจะต้องเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและสถานการณ์นั้ นๆ-
dc.description.abstractalternativeIt is widely accepted that good management is vital for business to achieve its objectives in order to maintain its survival and progress. Realizing this, the thesis was sat to study management concept and its trend in large organization. It is believed that the findings will serve as a guideline for potential entrepreneurs which in turn will be beneficial to the country as a whole. The group of large organizations under studies was taken from the research entitled “100 Largest Firms in Thailand” conducted in 1976 by the Faculty of Commerce and Accountancy. Chulalongkorn University. Information on management’s philosophy, principles and models being used in the organization was gathered by interviewing and sending questionnaires to managers. Management of an organization was considered according to 5 principles namely. 1) Planning-by studying the role of planning unit, management’s involvement in planning, types of plan and planning horizon of each kind. 2) Organizing- by studying the organization structure and nature of various tasks and positions. 3) Staffing- by studying methods of recruitment, man-power planning and development plan for managers at each level. 4) Directing- by studying directing and reporting process and communication systems. 5) Controlling- by studying controlling method and procedures used. Management models which were used as basic of comparison were traditional model, human relations model and human resources model as classified by Raymond E Miles. The study found that Japan had the highest proportion of investment in large organizations in Thailand, followed then by the United States, the Netherland, the United Kingdom and Switzerland. The business which was a Japanes. Joint-venture and European joint-venture mostly used human relations model whereas those with American joint-venture normally used human resources model. When considered in detail according to 5 principles of management, each organization utilized different model. In general, it can be said that large organizations had all kind of management models but the trend was toward human relations model. The study was also done by classifying businesses into various categories. It is found that expect for the construction business, large organizations had different management processes. The businesses like oil, textile and automobile used human relations model whereas agricultural ones like rice and sugar used the traditional model. Despite the findings, it was emphasized here that the effective and efficient management would only result only when managers realized the importance of subordinates and that business should operate in consistent with their situations and environment.-
dc.format.extent461124 bytes-
dc.format.extent438757 bytes-
dc.format.extent632744 bytes-
dc.format.extent2545583 bytes-
dc.format.extent1450114 bytes-
dc.format.extent2065699 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการจัดการธุรกิจen
dc.subjectธุรกิจขนาดใหญ่en
dc.titleแนวโน้มของการจัดการธุรกิจขนาดใหญ่ในประเทศไทยen
dc.title.alternativeThe trend of large business enterprises management in Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameพาณิชยศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพาณิชยศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfcompps@acc.chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Teerapole_Tu_front.pdf450.32 kBAdobe PDFView/Open
Teerapole_Tu_ch1.pdf428.47 kBAdobe PDFView/Open
Teerapole_Tu_ch2.pdf617.91 kBAdobe PDFView/Open
Teerapole_Tu_ch3.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open
Teerapole_Tu_ch4.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open
Teerapole_Tu_back.pdf2.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.