Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19096
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทัชชมัย ฤกษะสุต-
dc.contributor.authorนิติลักษณ์ แก้วจันดี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-04-17T01:48:30Z-
dc.date.available2012-04-17T01:48:30Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19096-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractคำว่า“สภาวการณ์เดียวกัน” และ “การยึดทรัพย์โดยอ้อม” เป็นคำที่มีความสำคัญที่ปรากฏในบทที่ 11 ของข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือ อย่างไรก็ตามแนวการตีความคำดังกล่าวยังคงมีความไม่ชัดเจน การวิจัยเรื่องนี้มุ่งศึกษาถึงการตีความคำว่า “สภาวการณ์เดียวกัน” และ “การยึดทรัพย์โดยอ้อม” รวมถึงผลกระทบจากการที่ยังไม่มีแนวการตีความที่ชัดเจนต่อการออกมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมของรัฐที่รับการลงทุน จากการศึกษาพบว่า แนวการตีความคำว่า “สภาวการณ์เดียวกัน” มีทั้งการตีความอย่างแคบที่พิจารณาจากการแข่งขันกันของนักลงทุนในประเทศกับนักลงทุนจากต่างประเทศเป็นสำคัญ ขณะเดียวกันก็มีแนวการตีความอย่างกว้างที่เห็นว่า ต้องพิจารณาจากทุกปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนทั้งมิติทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมประกอบกัน ส่วนกรณีแนวการตีความคำว่า “ยึดทรัพย์โดยอ้อม” พบว่ามีทั้งแนวการตีความที่เห็นว่า การใช้อำนาจของรัฐเชิงบังคับ (รวมมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม) เป็นข้อยกเว้นจึงไม่ถือเป็นการยึดทรัพย์นักลงทุนโดยอ้อม และแนวการตีความที่เห็นว่า แม้เป็นการใช้อำนาจของรัฐเชิงบังคับ(รวมมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม) ก็ถือเป็นการยึดทรัพย์โดยอ้อมได้หากมาตรการนั้นส่งผลกระทบต่อสิทธิความเป็นเจ้าของของนักลงทุนอย่างชาติ ซึ่งความไม่ชัดเจนดังกล่าวส่งผลให้การออกมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมของรัฐถูกตีความว่าเป็นการละเมิดหลักปฏิบัติอย่างชาติหรือเป็นการยึดทรัพย์โดยอ้อมได้en
dc.description.abstractalternative“Like Circumstance” and “Indirect Expropriation” are written on the Chapter 11 of the North America Free Trade Agreement however; the clear-cut interpretation of these words are ambiguous. This study aims to study the clear meaning and precise interpretation of the words “Like Circumstance” and “Indirect Expropriation”. Additionally, the impacts of having an unclear meaning on the Environment Protection Measure of the host states are examined in this study. In addition, this study find effect of unclear interpretation on the Environment Protection Measure of the host states. This study finds that the method of interpretation on “Like Circumstance” is not only the close interpretation which considers the level of competitiveness amongst domestic and foreign investors, but also the wide interpretation which considers all the relevant circumstances of investment, economic, social and environment. Moreover, the study of the scopes of interpretation on Indirect Expropriation finds that the procedures on legal enforcements, including the Environment Protection Measure, does not mean indirect confiscation from the investors. However, it can be interpreted as indirect expropriation as long as the legally measures have affected on the ownership rights of foreign investors. This ambiguous interpretation has delivered the state environment protection as an infringed national treatment and can be interpret as Indirect Expropriation.en
dc.format.extent2769890 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1289-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการลงทุนของต่างประเทศen
dc.subjectความรับผิดสำหรับความเสียหายทางสิ่งแวดล้อมen
dc.subjectการยึดทรัพย์en
dc.subjectเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือen
dc.subjectกฎหมายสิ่งแวดล้อมen
dc.titleปัญหาในการออกมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมของรัฐในความตกลงระหว่างประเทศว่าด้วย การลงทุน : กรณีศึกษา บทที่ 11 ของข้อตกลงการค้าเสรีอเมริกาเหนือen
dc.title.alternativeProblem concerning the regulation of the environmental protection measure by state in international investment agreement : a case study of chapter 11 of The North American free trade agreementen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTashmai.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1289-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nitilak_Ka.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.