Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19444
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ใจทิพย์ ณ สงขลา | - |
dc.contributor.advisor | ศิริเดช สุชีวะ | - |
dc.contributor.author | วิชิต เทพประสิทธิ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-05-04T14:38:22Z | - |
dc.date.available | 2012-05-04T14:38:22Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19444 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2552 | en |
dc.description.abstract | ศึกษา พัฒนา ตรวจสอบคุณภาพและนำเสนอระบบพัฒนาสมรรถนะ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยระบบปรับเหมาะการเรียนแบบปฏิบัติจริง ตามวิธีการคอนสตรัคติวิสต์สำหรับข้าราชการกระทรวงพลังงาน ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาแบ่งออกเป็น 4 ระยะคือ ระยะที่ 1 การศึกษาทฤษฎี แนวคิดและการวิจัย การวิเคราะห์สังเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบปรับเหมาะการเรียนแบบปฏิบัติจริง และทฤษฏีคอนสตรัคติวิสต์ ระยะที่ 2 การพัฒนาระบบพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้วยระบบปรับเหมาะการเรียนแบบปฏิบัติจริง ตามวิธีการคอนสตรัคติวิสต์ สำหรับข้าราชการกระทรวงพลังงาน ระยะที่ 3 การศึกษาผลการใช้ระบบพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้วยระบบปรับเหมาะการเรียนแบบปฏิบัติจริง ตามวิธีการคอนสตรัคติวิสต์ สำหรับข้าราชการ กระทรวงพลังงาน ใช้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 30 คน ระยะที่ 4 การนำเสนอระบบพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยระบบปรับเหมาะการเรียนฯ ที่ได้การรับรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ระบบพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยระบบปรับเหมาะการเรียนแบบปฏิบัติจริงตาม วิธีการคอนสตรัคติวิสต์ที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 1) หลักการของระบบ ใช้หลักการวัดและประเมินสมรรถนะ การเรียนแบบปฏิบัติจริง การเรียนแบบคอนสตรัคติวิสต์ ระบบปรับเหมาะการเรียน 2) วัตถุประสงค์ของระบบ 3) กระบวนการพัฒนาสมรรถนะ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนคือ ขั้นก่อนเรียน ขั้นวัดและประเมินผลสมรรถนะ ขั้นการเรียนแบบปรับเหมาะ 4) การวัดและประเมินผล ใช้แบบทดสอบแบบปรนัย แบบสังเกต และแบบบันทึกผลงาน 2. ผลการวิเคราะห์คะแนนด้วยค่าเฉลี่ย พบว่าผู้เรียนที่ผ่านระบบการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนในทุกระดับสมรรถนะ และมีคะแนนผ่านเกณฑ์ 80% 3. ผู้เรียนมีพฤติกรรมการทำงานที่สังเกตได้จากแบบสังเกตอยู่ในระดับดี 4. ผู้เรียนมีผลงานเป็นที่ปรากฏน้อยกว่าเกณฑ์ที่กำหนดที่ 80% ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมุติฐาน | en |
dc.description.abstractalternative | To develop the information technology competency with adaptive-action learning system based on constructivist approach for Ministry of Energy officers. The research and development procedure was divided into four phases: (1) reviewing the literature on information technology competency development, adaptive learning, action learning and constructivist learning theory, (2) developing the information technology competency with adaptiveaction learning system based on constructivist approach for Ministry of Energy officers, (3) studying the effect of the information technology competency with adaptive-action learning system based on constructivist approach program on 30 Ministry of Energy officers, and (4) presenting the system verified from five experts. Frequency, percentage, mean and standard deviation were used for statistical analysis. The results revealed that 1. The developed system for development of information technology competency with adaptive-action learning system based on constructivist approach for Ministry of Energy officers consisted of (1) the system principles comprising the competency evaluation, adaptive learning, action learning and constructivist learning, (2) the objectives of the system, (3) the competency development process comprising: pre-learning phase, competency evaluation phase, and adaptivelearning phase, and (4) evaluation using questionnaire, working observation form and working report. 2. After using the information technology competency with adaptive-action learning system based on constructivist approach system, the participants had higher learning achievement scores in every competency and passed the 80% rating. 3. The participants observed working performance was in good level. 4. The working report of the participants did not pass the 80% criteria which did not agree with the hypothesis. | en |
dc.format.extent | 4870813 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.613 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | กระทรวงพลังงาน -- ข้าราชการ | - |
dc.subject | สมรรถนะ | - |
dc.subject | การบริหารงานบุคคล | - |
dc.subject | ทฤษฎีสรรคนิยม | - |
dc.subject | การเรียนแบบมีส่วนร่วม | - |
dc.subject | การเรียนรู้ของผู้ใหญ่ | - |
dc.subject | Ministry of Energy -- Public officers | - |
dc.subject | Performance | - |
dc.subject | Personnel management | - |
dc.subject | Constructivism (Education) | - |
dc.subject | Active learning | - |
dc.subject | Adult learning | - |
dc.title | การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยระบบปรับเหมาะการเรียนแบบปฏิบัตจริง ตามวิธีการคอนสตรัคติวิสต์สำหรับข้าราชการ กระทรวงพลังงาน | en |
dc.title.alternative | The development of information technology competency with an adaptive-action learning system based on the constructivist approach for goverment officials under the Ministry of Energy | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | es |
dc.degree.discipline | เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Jaitip.N@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Siridej.S@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.613 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wichit_th.pdf | 4.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.