Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19472
Title: | ความรู้เรื่องอีสานของชนชั้นนำสยาม พ.ศ. 2433-2475 |
Other Titles: | The siamese elite's knowledge of "ISAN", 1890-1932 |
Authors: | อริญชย์ วรรณชาติ |
Advisors: | ฉลอง สุนทราวาณิชย์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
Advisor's Email: | Chalong.S@Chula.ac.th |
Subjects: | ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) -- ภาวะสังคม ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) -- การเมืองและการปกครอง ชนชั้นนำ -- ไทย |
Issue Date: | 2553 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายความรู้เรื่องอีสานของชนชั้นนำสยามที่เกิดขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2433-2475 อันเป็นช่วงเวลาที่ความรู้เรื่องอีสานได้ถูกเผยแพร่ และแลกเปลี่ยนกันในหมู่ชนชั้นนำสยามอย่างแพร่หลาย ปรากฏการณ์ดังกล่าว แสดงให้เห็นถึงการใช้วิธีคิด และกรอบความรู้แบบตะวันตกเข้ามาอธิบายเพื่อสร้างความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ อีสาน อันแสดงให้เห็นถึงนัยความสำคัญของการเป็นข้อมูลในการบริหารของชนชั้นนำ สยามที่สัมพันธ์กับรูปแบบการปกครองของรัฐสยามใหม่ อันเป็นผลมาจากการเข้ามาของอาณานิคมตะวันตก แม้ว่าในช่วงก่อนปี พ.ศ. 2433 ชนชั้นนำสยามจะมีความรู้เรื่องอีสานอยู่บ้างแล้ว แต่ความพยายามของชนชั้นนำสยามที่จะปฏิบัติการเพื่อสร้างความรู้เรื่องอีสาน ในช่วงเวลาดังกล่าว กลับยังไม่มีความเข้มข้นเหมือนปฏิบัติการสร้างความรู้เรื่องอีสานที่เกิดขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2433-2475 ความรู้เรื่องอีสานที่ถูกสร้างขึ้น จึงแสดงถึงการเป็นความรู้ของตัวบุคคล อันเกิดจากประสบการณ์ส่วนตัว ซึ่งสัมพันธ์กับความสนใจ และภาระหน้าที่รับผิดชอบของชนชั้นนำสยามแต่ละบุคคล ดังนั้นความรู้ที่เกิดขึ้นจึงกลายเป็นเครื่องมือสำคัญของชนชั้นนำสยามในการปกครอง เพื่อความสามารถในการเข้าควบคุมจัดการกับคน และพื้นที่อีสาน ตามความต้องการของรัฐสยามใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น |
Other Abstract: | This research aims to explain the Siamese elite's knowledge of "Isan" from 1890 to 1932, the period during which knowledge of "Isan" was spread and was exchanged among the Siamese elite. This phenomenon shows the use of western concepts in constructing knowledge of the "Isan" area. It reflects also the importance of this information to the Siamese elite's management of the kingdom in relations with the formation of the modern Siamese state as a result of western colonial influence. Although the Siamese elite were already aware of "Isan" prior to 1890, their efforts in constructing knowledge of "Isan" was not as intense as that of the 1890-1932 period. The construction of knowledge concerning "Isan" reflects the individual knowledge based on personal experiences which is related to personal interest, obligations and responsibilities of the Siamese elite. Therefore, knowledge of "Isan" became a significant tool of the Siamese elite in the effectively controlling the population and territories of "Isan" according to the needs of the modern state of Siam. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 |
Degree Name: | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | ประวัติศาสตร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19472 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1747 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2010.1747 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
arin_wa.pdf | 3.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.