Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19993
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไชยันต์ ไชยพร-
dc.contributor.authorศุภชัย ศุภผล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-06-02T15:21:21Z-
dc.date.available2012-06-02T15:21:21Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19993-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเรื่อง“ความยุติธรรม”ในงานเขียนชั้นต้นของ ฌอง ฌากส์ รุสโซ ว่าแท้ที่จริงแล้ว คืออะไร มีความหมายอย่างไร ตลอดจนการได้มาซึ่งความยุติธรรมตามความคิดของรุสโซนั้นมันจำเป็นต้องมีเงื่อนไขอย่างไรบ้าง ซึ่งในการวิจัยนี้ได้เลือกงานดังต่อไปนี้เป็นขอบเขตของการศึกษาอันได้แก่ หนังสือสัญญาประชาคม (The Social Contract) ต้นฉบับร่างของหนังสือสัญญาประชาคม (Geneva Manuscript), ความเรียงว่าด้วยศิลปะวิทยาการ (Discourse on the Arts and Sciences), ความเรียงว่าเศรษฐกิจการเมือง (Discourse on Political Economy), ความเรียงว่าด้วยความไม่เสมอภาค (Discourse on the Origin of Inequality) และ เอมีล หรือว่าด้วยการศึกษา (Emile or on Education) อย่างไรก็ตาม ในงานวิจัยชิ้นนี้ได้ใช้วิธีการศึกษาด้วยการตีความตัวบทอย่างละเอียด รวมทั้งศึกษาบริบททางประวัติศาสตร์และชีวประวัติของนักปรัชญาท่านนี้ประกอบกันไปด้วย ผลจากการวิจัยพบว่า ความยุติธรรมตามความหมายของรุสโซนั้น มันคือสิ่งที่เขาเรียกมันว่า ผลประโยชน์ร่วมกัน (Common Interest) ซึ่งมันมีความหมายถึงว่า การที่ทุกคนมาอยู่รวมกันเป็นสังคมนั้น สมาชิกทุกๆคนจะต้องได้ประโยชน์จากการเข้ามารวมกัน โดยที่ในสังคมนั้นจะต้องไม่ดำรงอยู่เพื่อการที่คนใดคนหนึ่งได้ประโยชน์จากการกดขี่เพื่อนสมาชิกคนอื่น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ สังคมทางการเมืองนั้นเป็นของทุกๆคน และเพื่อทุกๆคน ซึ่งสิ่งนี้คือความยุติธรรมของรุสโซ อนึ่ง สำหรับเงื่อนไขที่จะได้มาซึ่งความยุติธรรมดังกล่าวนั้นจะเกิดขึ้นได้ในสังคมแบบประชาธิปไตยเท่านั้น (Democratic Society) และพลเมืองของรัฐนั้นจะต้องมีคุณธรรมแบบพลเมือง (Civic Virtue) ที่สนใจต่อกิจการสาธารณะของรัฐ ตลอดจนรัฐนั้นจะต้องไม่มีช่องว่างของความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจของพลเมืองที่มากเกินไป ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นเงื่อนไขจำเป็นที่ขาดไมได้ในการได้มาซึ่งความยุติธรรมตามแนวคิดของ ฌอง ฌากส์ รุสโซen
dc.description.abstractalternativeThis research is an attempt to clarify and to find the real meaning of the concept of “Justice” as stipulated in Jean Jacques Rousseau's works, as well as the conditions to achieve that justice. The research was conducted through a textual analysis of Rousseau's works (i.e. the Social Contract, Geneva Manuscript, Discourse on the Arts and Sciences, Discourse on Political Economy and Discourse on the Origin of Inequality), as well as his historical context and biography. The research's finding is that Rousseau's concept of “Justice” is identical to his notion of "Common Interest"; namely the interest of the society must be shared equally by everybody as citizen. In other words, the society was built for everybody to have a good life, not for somebody or some groups to use the society for their own interest. However, the condition to achieve Rousseau's justice must be the same condition that constitutes what he called "the Democratic Society"; namely the citizen must have the Civic Virtue in public affairs and the gap between the rich and the poor in the state must be minimal.en
dc.format.extent3434989 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.527-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความยุติธรรมen
dc.subjectรุสโซ, ฌอง ฌาค, ค.ศ. 1712-1778en
dc.titleแนวคิดเรื่องความยุติธรรมของ ฌอง ฌากส์ รุสโซen
dc.title.alternativeJean Jacques Rousseau's concept of justiceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการปกครองes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChaiyan.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.527-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
suphachai_su.pdf3.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.