Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20112
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | มาโนช โลหเตปานนท์ | - |
dc.contributor.author | อดิศักดิ์ นันทวิศาล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-06-07T10:20:00Z | - |
dc.date.available | 2012-06-07T10:20:00Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20112 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดปัจจัยและลำดับความสำคัญของปัจจัยที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาจัดหาอากาศยานกองทัพอากาศ จำนวน 7 แบบ ได้แก่ เครื่องบินขับไล่อเนกประสงค์ เครื่องบินขับไล่/โจมตี เครื่องบินลาดตระเวน เครื่องบินลำเลียงขนาดกลาง เครื่องบินปฏิบัติกิจเฉพาะพิเศษ เฮลิคอปเตอร์ค้นหาและช่วยชีวิต และ เครื่องบินฝึกบิน โดยประยุกต์ใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (Analytical Hierarchy Process) ในการจัดหาเครื่องบินขับไล่อเนกประสงค์ทดแทนเครื่องบินขับไล่ F-5E ซึ่งผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ปัจจัยหลักที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดหาอากาศยานประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายที่สามารถรับได้ (Affordability) การอยู่รอด (Survivability) ความพร้อม (Readiness) ความสามารถ (Capability) ความปลอดภัย (Safety) 2. ลำดับความสำคัญของปัจจัยภายใต้การจัดหาอากาศยาน จำนวน 7 ประเภท ดังนี้ 1)เครื่องบินขับไล่อเนกประสงค์ ประกอบด้วย ความสามารถ ความพร้อม การอยู่รอด ความปลอดภัย ค่าใช้จ่ายที่สามารถรับได้ 2) เครื่องบินเครื่องบินขับไล่/โจมตี ประกอบด้วย ความสามารถ การอยู่รอด ความพร้อม ความปลอดภัย ค่าใช้จ่ายที่สามารถรับได้ 3) เครื่องบินลาดตระเวน ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายที่สามารถรับได้ ความปลอดภัย ความพร้อม ความสามารถ การอยู่รอด 4) เครื่องบินลำเลียงขนาดกลาง ประกอบด้วย ความสามารถ ความพร้อม ค่าใช้จ่ายที่สามารถรับได้ ความปลอดภัย การอยู่รอด 5) เครื่องบินปฏิบัติกิจเฉพาะพิเศษ ประกอบด้วย ความสามารถ ค่าใช้จ่ายที่สามารถรับได้ ความพร้อม ความปลอดภัย การอยู่รอด 6) เฮลิคอปเตอร์ค้นหาและช่วยชีวิต ประกอบด้วย ความสามารถ ความพร้อม ความปลอดภัย การอยู่รอด ค่าใช้จ่ายที่สามารถรับได้ และ 7) เครื่องบินฝึกบิน ประกอบด้วย ความสามารถ ความปลอดภัย ค่าใช้จ่ายที่สามารถรับได้ ความพร้อม การอยู่รอด 3. การประยุกต์ใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ในการจัดหาเครื่องบินขับไล่อเนกประสงค์ที่จะทดแทนเครื่องบินขับไล่ F-5E พบว่า พบว่า แบบอากาศยานที่เหมาะสมจะนำมาทดแทนเครื่องบินขับไล่ F-5E คือแบบอากาศยานสมมุติ B | en |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to determine factors and priority to be used as procurement criteria for the Royal Thai Air Force aircraft fleet, which consists of 7 types of aircraft, including fighter aircraft, multi purpose aircraft, fighter / attack aircraft, observation aircraft, medium transportation aircraft, special obligation aircraft, emergency seeks and helping helicopter and training aircraft. The research applies the analytical hierarchy process for the preparation of aircraft procurement of multipurpose aircraft (F-5E) fighter, covering all major details. The results of this research were as follows: 1. The major factors for aircraft procurement identified are affordability, survivability, readiness, capability, and safety. 2. The resulting factors for the seven types of aircraft vary as follows: 1) Multi purpose aircraft: capability, readiness, survivability, safety and affordability.2) Fighter / attack aircraft: capability, survivability, readiness, safety and affordability.3) Observation aircraft: affordability, safety, readiness, capability and survivability.4) Medium transportation aircraft: capability, readiness, affordability, safety and survivability. 5) Special obligation aircraft: capability, affordability, readiness, safety and survivability.6) Emergency seeks and helping helicopter: capability, readiness, safety, survivability and affordability. 7) Training aircraft: capability, safety, affordability, readiness and survivability. 3. Form the study, the suitable replacement aircraft for aircraft (F-5E) fighter was aircraft B. | en |
dc.format.extent | 2707408 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.889 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | กองทัพอากาศ -- การจัดซื้อจัดจ้าง | en |
dc.title | การประยุกต์ใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ในการเตรียมการจัดหาอากาศยาน กองทัพอากาศ | en |
dc.title.alternative | An application of analytical hierarchy process for the preparation of aircraft procurement of Royal Thai Air Force | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา) | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Manoj.L@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.889 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
adisak_nu.pdf | 2.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.