Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20972
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพโรจน์ สิตปรีชา-
dc.contributor.authorปรีชา เรืองจันทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialเพชรบูรณ์-
dc.date.accessioned2012-07-17T14:04:27Z-
dc.date.available2012-07-17T14:04:27Z-
dc.date.issued2523-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20972-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523en
dc.description.abstractปัญหาหลักอย่างหนึ่งของการพัฒนาการบริหารงานราชการไทยที่ประสบอยู่คือปัญหาปัจจัยหรือองค์ประกอบในการบริหารซึ่งประกอบด้วย คน เงิน วัสดุอุปกรณ์ และการบริหารหรืการจัดการ ผลจากการศึกษาและวิจัยต่างๆ แสดงให้เห็นว่าปัญหาดังกล่าวมีอยู่จริงในวงการบริหารทั่วไปทั้งภาคธุรกิจเอกชนและราชการ ซึ่งฝ่ายหลังเป็นงานที่ต้องสัมพันธ์กับประชาชนอยู่ตลอดเวลาและเป็นงานที่เน้นบริการคนส่วนใหญ่เพื่อผลประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ผู้ศึกษาวิจัยจึงได้นำเอางานราชการขึ้นมาศึกษาวิจัยโดยเลือกศึกษาเฉพาะกรณีสำนักงานจังหวัดเพชรบูรณ์ ในการรวบรวมข้อมูลได้อาศัยผลการวิจัยและเอกสารทางวิชาการ เอกสารทางราชการ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง แบบสอบถาม การสังเกตการณ์ และการสัมภาษณ์เพิ่มเติมวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยเรื่องนี้คือการวิเคราะห์สำนักงานจังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อจะได้ทราบถึงปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานซึ่งจะนำไปสู่ข้องเสนอแนะแนวทางแก้ไขและจะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงสำนักงานจังหวัดเพชรบูรณ์เป็นไปตามนโยบายของผู้ว่าราชการจังหวัด สามารถดำเนินการเป็นศูนย์กลางในการบริหารงานของผู้ว่าราชการจังหวัดและเป็นศูนย์ประสานแผนและโครงการของทุกกระทรวง ทบวงกรม ในจังหวัดได้อย่างสมบูรณ์แบบ โดยตั้งสมมติฐานว่า 1) สำนักงานจังหวัดเพชรบูรณ์ไม่สามารถเป็นศูนย์กลางในการบริหารงานและประสานงานของผู้ว่าราชการจังหวัดที่แท้จริงเพราะประสบปัญหาการบริหารงานของสำนักงานจังหวัด 2) ปัญหาการบริหารงานซึ่งได้แก่การขาดแคลนทรัพยากรในการบริหารของสำนักงานจังหวัดเพชรบูรณ์คล้ายคลึงกับปัญหาในการบริหารงานของสำนักงานจังหวัดทุกจังหวัด 3) หากแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้สำนักงานจังหวัดเพชรบูรณ์จะเป็นศูนย์กลางในการบริหารงานและประสานงานของผู้ว่าราชการจังหวัดอย่างสบบูรณ์แบบ การศึกษาวิจัย ครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าปัญหาในการบริหารงานของสำนักงานจังหวัดเพชรบูรณ์กับปัญหาการบริหารงานของสำนักงานจังหวัดทั่วไปคล้ายคลึงกัน คือปัญหาปัจจัยหรือองค์ประกอบในการบริหารงานได้แก่ คน เงิน วัสดุ และการจัดการ โดยสรุปปัญหาได้ดังนี้ 1. อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ของสำนักงานจังหวัดมีน้อยไม่สมดุลย์กับปริมาณงาน 2. งบประมาณไม่เพียงพอ 3. ขาดวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน 4. อำนาจและหน้าที่ของหัวหน้าสำนักงานจังหวัดไม่สมดุลย์กัน ทั้งนี้เพราะหัวหน้าสำนักงานจังหวัดไม่ได้เป็นหัวหน้าส่วนราชการ หน้าที่จึงมีมากกว่าอำนาจและปัญหาความไม่เข้าใจในการปฏิบัติงานในหน้าที่ของเจ้าหน้าที่สำนักงานจังหวัด เพราะขาดการฝึกอบรมแนวทางการปฏิบัติงานของสำนักงานจังหวัด 5. การประสานงานได้รับความร่วมมือส่วนราชการประจำจังหวัดน้อย 6. สถานที่ปฏิบัติงานคับแคบ 7. ขาดเจ้าหน้าที่ชำนาญเฉพาะด้าน 8. ความไม่มีเอกภาพในการสั่งการของส่วนกลางยิ่งกว่านั้น การศึกษาวิจัยพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างผู้ว่าราชการจังหวัดกับหัวหน้าสำนักงานจังหวัดมีผลกระทบกระเทือนต่อการดำเนินการของสำนักงานจังหวัดอย่างมากหากแต่ว่าผลกระทบกระเทือนจะเป็นไปในรูปใดนั้นย่อมขึ้นอยู่กับการศึกษาวิจัยที่จะมีต่อไป-
dc.description.abstractalternativeOne of the major problems in developing the administration of the Thai bureaucracy is insufficiency of administrative resources: men, money, materials, and management. There have been studies and research giving evidence that this problem exists in both private business administration and public government administration. Government bureaucracy is the main focus of this study as its services directly affect the well being of the people. The Petchabun office of the governor was the case selected for this study of Thai bureaucratic administration. Evidence to support my statements and arguments in this study came from research documents, government documents) legal acts, questionnaires, observations, and informal interviews. The main objective of this study was to examine the office of the Petchabun governor. Whether this staff office could function according to the governor's policies, could be the center of the governor's administration, and the eenter for coordination of various plans and programs from all of the ministries in the province. The examination has resulted in suggestions for solving the problem and improving the administration of the office. The hypotheses put forth in this study were:- 1) The office of the governor could not perform the functions of administrative center and coordinating center for the governor because of its administrative problems. 2) Administrative problems, resulting in the insufficiency of administrative resources, are similar to those in other provinces, office of the governor; 3) If the Petchabun office of the governor could solve this problem, it would become a successful enter for administration and coordination of the governor. This study has revealed that the problem of administrative resources, encountesed by the Petchabun office of the governor, as well as other provinces', consists of : 1. Insufficiency of man power when comparing to the work load in the office; 2. Insufficient budget; 3. Insufficient office supplies, equipments, and means of transportation; 4. Insufficient authority on the side of the head of the Petehabun office, while lack of understanding in their tasks on the side of the officials in the Petchabun office; 5. Insufficiency of cooperation from other offices in the province; 6. Limited office space; 7. Lack of specialized government officials; and 8. Absence of Unity of Command from the Central administration in Bangkok. Finally, it was found in this study that the relationships between the governor and the head of the office of the governor crucially affected the functioning of the office. However, further investigation should be employed to study the magnitude and direction of their effects in detail.-
dc.format.extent649683 bytes-
dc.format.extent771971 bytes-
dc.format.extent1654419 bytes-
dc.format.extent1023648 bytes-
dc.format.extent854561 bytes-
dc.format.extent624302 bytes-
dc.format.extent892994 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectปกครองท้องถิ่น -- ไทยen
dc.subjectเพชรบูรณ์ -- การเมืองการปกครองen
dc.titleการบริหารงานของสำนักงานจังหวัด : ศึกษาเฉพาะกรณีสำนักงานจังหวัดเพชรบูรณ์en
dc.title.alternativeA study of the administration of the office of the governor with special enphasis on Changwat Phetchabunen
dc.typeThesises
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการปกครองes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Preecha_Ru_front.pdf634.46 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_Ru_ch1.pdf753.88 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_Ru_ch2.pdf1.62 MBAdobe PDFView/Open
Preecha_Ru_ch3.pdf999.66 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_Ru_ch4.pdf834.53 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_Ru_ch5.pdf609.67 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_Ru_back.pdf872.06 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.