Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20978
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสำเภา วรางกูร-
dc.contributor.authorปรีชา วิหคโต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)-
dc.date.accessioned2012-07-17T14:19:53Z-
dc.date.available2012-07-17T14:19:53Z-
dc.date.issued2519-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20978-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519en
dc.description.abstractบทคัดย่อ วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้เพื่อ 1. สำรวจความต้องการ ความสนใจและความคิดเห็นของประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเกี่ยวกับการฟังรายการวิทยุกระจายเสียง ประโยชน์และความรู้ที่ได้รับจากการฟังรวมถึงความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง 2. สำรวจปริมาณรายการวิทยุกระจายเสียงที่สถานีวิทยุกระจายเสียงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือออกอากาศ 3. เปรียบเทียบปริมาณความต้องการรายการวิทยุกระจายเสียงของประชาชนกับปริมาณรายการวิทยุกระจายเสียงที่ออกอากาศ ณ สถานีวิทยุกระจายเสียงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วิธีดำเนินการวิจัย ดำเนินการวิจัยโดยสำรวจรายการวิทยุกระจายเสียงที่ออกอากาศในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2518 จากผังกระจายเสียงและการสอบถามเจ้าหน้าที่ของสถานี ออกแบบสอบถามเพื่อสำรวจความสนใจ ความคิดเห็น ประโยชน์ที่ได้รับจากการฟังวิทยุกระจายเสียงของประชาชน กลุ่มตัวอย่างประชากรคือ ประชาชนและสถานีวิทยุกระจายเสียงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผลการวิจัยครั้งนี้คือ 1. สถานีวิทยุกระจายเสียงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือออกอากาศรายการสำคัญตามลำดับความมากน้อยดังนี้ รายการบันเทิงร้อยละ 51.87 รายการข่าวสารร้อยละ 26.10 และรายการความรู้หรือสารคดีซึ่งมีเพียงร้อยละ 22.03 2. ความต้องการฟังรายการที่น่าสนใจของประชาชนคิดเป็นค่าเฉลี่ยได้แตกต่างกันคือรายการบันเทิงมีค่าเฉลี่ย 3.96. รายการข่าวมีค่าเฉลี่ย 3.09 และรายการความรู้มีค่าเฉลี่ย 2.99 3. ประชาชนให้ข้อคิดเห็นว่าควรจัดรายการวิทยุกระจายเสียงให้มีเนื้อหาสาระควรปรับปรุงเทคนิคของระบบเสียงของสถานีวิทยุกระจายเสียงให้ดีขึ้นและควรปรับปรุงวิธีการเสนอรายการให้น่าสนใจ 4. ค่าสหสัมพันธ์ของค่าเฉลี่ยรายการวิทยุกระจายเสียงที่สถานีวิทยุกระจายเสียงออกอากาศกับค่าเฉลี่ยปริมาณความต้องการรายการวิทยุกระจายเสียงของประชาชนมีความสัมพันธ์ปานกลาง ข้อเสนอแนะ สถานีวิทยุกระจายเสียงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือควรจัดรายการโดยสอดแทรกรายการความรู้ลงในรายการบันเทิงให้มากขึ้น เสนอรายการที่เป็นประโยชน์แก่ประชาชนให้สอดคล้องกับเวลาที่ประชาชนต้องการฟัง เชิญวิทยากรในท้องถิ่นและเจ้าหน้าที่ของหน่วยราชการมาร่วมจัดรายการ จัดตั้งศูนย์ผลิตรายการประจำภาค จัดพิมพ์เอกสารที่เป็นประโยชน์เผยแพร่กับประชาชนที่สนใจ ให้มีเจ้าหน้าที่ติดตามผลทางปฏิบัติจากรายการของสถานีวิทยุกระจายเสียง ควรมีการสำรวจความต้องการรายการวิทยุกระจายเสียงของประชาชนในท้องถิ่นนั้นๆ ควรปรับปรุงระบบเสียงของสถานีวิทยุกระจายเสียงและให้นักศึกษาของวิทยาลัยเทคนิคช่วยเหลือเพื่อแก้ปัญหาเรื่องประสิทธิภาพของเครื่องรับวิทยุของประชาชน ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ฟังได้รับประโยชน์จากการฟังรายการวิทยุกระจายเสียงมากที่สุดและช่วยยกระดับการฟังรายการวิทยุกระจายเสียงของผู้ฟังด้วย-
dc.description.abstractalternativePurpose : The main purposes of this study were 1. To find out the demands, interests, attitudes as well as benefits in term of educational from the existing programs of people in Northeastern Region. 2. To find out the radio programs provided by the radio stations in Northeastern Region. 3. To compare the demand for radio programs and those provided by the radio stations in Northeastern Region. Procedures: The methodes used in the collection, of data were both documentation and interview mainly based on December, 1975 unpublished materials from radio stations. The field research was conducted through questionaires dealing with interests, opinions and benefits that the audiences gained from the programs. The sample consisted of people and stations in Northeastern Region. Results : 1. The distributed programs in Northeastern Region were classified in to three categories as entertainment program, news program and knowledge program with the percentage of 51.87, 26.10 and 22.03 respectively. 2. The audiences were most interested in listening to entertainment program, news program and knowledge program with meams of 3.96, 3.09 and 2.99 respectively. 3. The audiences suggested that the radio stations should provide more programs invious categories especially those relevant to their dialy lives. Besides the existing deficiencies and the presentation of programs should be irresistibly improved. 4. Rank correlation between means of demand for radio programs and means of programs broadcasting were moderate. Recommendations: More knowledge program should be added in entertainment programs. In order to satisfy listening Characters of the audiences, the time factor should be taken into consideration. Within the region there should be a program center. The station should publish interesting and useful document to their daily lives. There should also be an official staff carrying out the evaluation of the programs. In order to improve the program properly, the survey demand of radio programs should be conducted occasionally. Student at technical institution in the region should play action roles in improving existing deficiencies and modernizing the station interms of technique, administration and program management, in order to offer full benefit to the listeners and raise the standard of listeners in general.-
dc.format.extent392250 bytes-
dc.format.extent388867 bytes-
dc.format.extent369351 bytes-
dc.format.extent392463 bytes-
dc.format.extent975339 bytes-
dc.format.extent418878 bytes-
dc.format.extent643399 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวิทยุกระจายเสียงen
dc.titleความต้องการรายการวิทยุกระจายเสียงสำหรับการศึกษาของประชาชน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือen
dc.title.alternativeDemand for educational radio programs of people in Northeastern Regionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Preecha_Vi_front.pdf383.06 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_Vi_ch1.pdf379.75 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_Vi_ch2.pdf360.69 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_Vi_ch3.pdf383.26 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_Vi_ch4.pdf952.48 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_Vi_ch5.pdf409.06 kBAdobe PDFView/Open
Preecha_Vi_back.pdf628.32 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.