Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21005
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิติยวดี บุญซื่อ-
dc.contributor.authorวรนารถ วัชราธร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-07-18T14:48:55Z-
dc.date.available2012-07-18T14:48:55Z-
dc.date.issued2519-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21005-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519en
dc.description.abstractความมุ่งหมาย การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาภาษาไทย เรื่อง “การอ่านเอาเรื่อง” สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และหาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 วิธีดำเนินการวิจัย 1. สร้างบทเรียนแบบโปรแกรมชนิดเส้นตรงเรื่อง “การอ่านเอาเรื่อง” สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยยึดจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรมเป็นหลัก 2. สร้างข้อสอบจำนวน 30 ข้อ เพื่อใช้เป็นแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนบทเรียนแบบโปรแกรม แบบสอบมีสัมประสิทธิแห่งความเที่ยง .75 3. นำบทเรียนแบบโปรแกรมไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เหตุที่เลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เพราะว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ได้เรียนเนื้อหาวิชานี้ไปแล้ว 4.การทดลองทำตามลำดับขั้นดังนี้ 4.1 ขั้นหนึ่งต่อหนึ่ง ทดลองกับนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2 ครั้งๆ ละ 1 คน 4.2 ขั้นกลุ่มเล็ก ทดลองกับนักเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 10 คน 4.3 ขั้นภาคสนาม ทดลองกับนักเรียนโรงเรียนศึกษาวัฒนา กรุงเทพมหานครชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 100 คน ผลการวิจัย บทเรียนแบบโปรแกรมเรื่อง “การอ่านเอาเรื่อง” มีประสิทธิภาพ 94.43/85.40 หมายถึง นักเรียนสามารถทำบทเรียนได้ถูกต้องโดยเฉลี่ยร้อยละ 94.43 และสามรถทำข้อสอบหลังเรียนบทเรียนแบบโปรแกรมได้ถูกต้องโดยเฉลี่ยร้อยละ 85.40 บทเรียนนี้มีประสิทธิภาพต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ แต่คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนบทเรียนมากกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนบทเรียน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 แสดงว่านักเรียนเรียนบทเรียนแบบโปรแกรมนี้แล้วมีความรู้เพิ่มขึ้น-
dc.description.abstractalternativePurpose The purpose of this research was to construct the Programmed Lesson "Reading comprehension in Thai" for Prathom Suksa Five and to find out-the effectiveness of this Programmed Lesson based on the 90/90 standard. Procedure 1. Constructed the Programmed Lesson "Reading Comprehension in Thai" for Prathom Suksa Five by following the behavioral objectives which were set up. 2. Constructed 30 items of pre-test and post-test. The reliability was .75. 3. Tried out the Programmed Lesson with Prathom Suksa Four students. The reason for choosing the Prathom Suksa Four Students was that, during the peroid of field testing the Prathom Suksa Five students have already studied this content. 4. Tried out the Programmed Lesson in three steps as follow: 4.1 One-to-one testing, the samples were two students of Demonstration School of Chulalongkorn University. 4.2 Small group testing, the samples were ten students of Demonstration School of Chulalongkorn University. 4.3 Field testing, the samples were one hundred students of the Suksa Watana School, Bangkok Metropolis. Results The effectiveness of the designed Programmed Lesson was determined by the 90/90 standard. This means that the students average score is 94.43 percent on answering the questions in Programmed Lesson and the average score of the post-test is 85.40 percent. However the average score of post-test is significantly higher than the average score of pre-test at the level of .01 This shows that the Programmed Lesson has significantly improved the knowledge of the students.-
dc.format.extent341640 bytes-
dc.format.extent621738 bytes-
dc.format.extent857518 bytes-
dc.format.extent1221152 bytes-
dc.format.extent572512 bytes-
dc.format.extent348467 bytes-
dc.format.extent1694996 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแบบเรียนสำเร็จรูปen
dc.subjectการอ่านen
dc.titleการสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมเรื่อง "การอ่านเอาเรื่อง" สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5en
dc.title.alternativeConstruction of the programmed lesson "Reading Comprehension in Thai" for prathom suksa fiveen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Varanart_Va_front.pdf333.63 kBAdobe PDFView/Open
Varanart_Va_ch1.pdf607.17 kBAdobe PDFView/Open
Varanart_Va_ch2.pdf837.42 kBAdobe PDFView/Open
Varanart_Va_ch3.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
Varanart_Va_ch4.pdf559.09 kBAdobe PDFView/Open
Varanart_Va_ch5.pdf340.3 kBAdobe PDFView/Open
Varanart_Va_back.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.