Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21126
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิทิต มันตาภรณ์-
dc.contributor.authorอนุกูล บุญญบาล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-07-23T14:23:18Z-
dc.date.available2012-07-23T14:23:18Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21126-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2551en
dc.description.abstractปัญหาผู้ลี้ภัยยังคงเป็นปัญหาที่มีความยืดเยื้อและยาวนานมาตั้งแต่อดีต ไม่ว่ายุคสมัยของโลกจะเปลี่ยนไปสักเพียงไรปัญหาผู้ลี้ภัยก็ยังคงไม่หมดไปและยังคงมีอยู่ทั่วทุกมุมโลก การจัดการกับปัญหาดังกล่าวล้วนต้องอาศัยปัจจัยหลายประการเพื่อหาทางออก สิ่งสำคัญที่สุดนั่นคือสำนึกของรัฐที่มีต่อปัญหาในเรื่องดังกล่าวรวมไปถึงความรับผิดชอบและแนวทางปฏิบัติในการจัดการเกี่ยวกับปัญหาผู้ลี้ภัยที่ถูกจัดทำโดยรัฐ หลัก Exclusion clauses ถือเป็นกฎเกณฑ์ที่มีความสำคัญและมักถูกพูดถึงบ่อยครั้งในการจัดการเกี่ยวกับผู้ลี้ภัย แม้หลักในเรื่องดังกล่าวจะถูกบัญญัติเอาไว้อยู่ในอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย 1951 อันเป็นอนุสัญญาที่มีการกล่าวเอาไว้ถึงมาตรการให้ความคุ้มครองต่างๆ เกี่ยวกับผู้ลี้ภัย แต่หลักเช่นว่ากลับไม่ได้มีเนื้อหาอันใดที่แสดงให้เห็นถึงการให้คุ้มครองดังกล่าว กลับเป็นหลักที่มีเนื้อหาในการตัดสิทธิผู้ลี้ภัยออกจากการได้รับความคุ้มครองเช่นว่านั้น การใช้หลักในเรื่องดังกล่าวโดยรัฐภาคีของอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย 1951 ในบางครั้งก็ย่อมเกิดปัญหาตามมาจากปัจจัยในหลายๆ ประการไม่ว่าจะเป็นความหลากหลายในแนวทางปฏิบัติของรัฐภาคีเกี่ยวกับหลักในเรื่องดังกล่าวการปล่อยให้รัฐภาคีมีอำนาจในการพิจารณาใช้หลักดังกล่าวโดยปราศจากการมีแนวทางที่เหมาะสม เหตุปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ย่อมส่งผลให้การใช้หลักในเรื่องดังกล่าวสร้างปัญหาให้กับผู้ลี้ภัยอย่างมากมายในปัจจุบัน ด้วยเหตุเช่นว่านั้นงานวิจัยนี้จึงพยายามมุ่งชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้หลัก Exclusion Clauses โดยรัฐภาคีว่ามีอยู่อย่างไรและอะไรน่าจะเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องดังกล่าวเพื่อแก้ไขในปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งจากผลการศึกษาจะทำให้เห็นว่าแนวทางที่ดีที่สุดในการหาทางออกให้กับปัญหาในเรื่องของการตีความและการใช้หลัก Exclusion Clauses รัฐควรจะต้องคำนึงหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง ประกอบกับคำแนะนำของ UNHCR อันเป็นองค์กรที่ความชำนาญเกี่ยวกับผู้ลี้ภัยโดยเฉพาะเพื่อให้รัฐภาคีสามารถหาแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับผู้ลี้ภัยที่ถูกต้องเหมาะสมและก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ลี้ภัยหลัก Exclusion Clauses ถือเป็นกฎเกณฑ์ที่มีความสำคัญและมักถูกพูดถึงบ่อยครั้งในการจัดการเกี่ยวกับผู้ลี้ภัย แม้หลักในเรื่องดังกล่าวจะถูกบัญญัติเอาไว้อยู่ในอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย 1951 อันเป็นอนุสัญญาที่มีการกล่าวเอาไว้ถึงมาตรการให้ความคุ้มครองต่างๆเกี่ยวกับผู้ลี้ภัย แต่หลักเช่นว่ากลับไม่ได้มีเนื้อหาอันใดที่แสดงให้เห็นถึงการให้คุ้มครองดังกล่าว กลับเป็นหลักที่มีเนื้อหาในการตัดสิทธิผู้ลี้ภัยออกจากการได้รับความคุ้มครองเช่นว่านั้น การใช้หลักในเรื่องดังกล่าวโดยรัฐภาคีของอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย 1951 ในบางครั้งก็ย่อมเกิดปัญหาตามมาจากปัจจัยในหลายๆประการไม่ว่าจะเป็นความหลากหลายในแนวทางปฏิบัติของรัฐภาคีเกี่ยวกับหลักในเรื่องดังกล่าว การปล่อยให้รัฐภาคีมีอำนาจในการพิจารณาใช้หลักดังกล่าวโดยปราศจากการมีแนวทางที่เหมาะสม เหตุปัจจัยต่างๆเหล่านี้ย่อมส่งผลให้การใช้หลักในเรื่องดังกล่าวสร้างปัญหาให้กับผู้ลี้ภัยอย่างมากมายในปัจจุบัน ด้วยเหตุเช่นว่านั้นงานวิจัยฉบับนี้จึงพยายามมุ่งชี้ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้หลัก Exclusion Clauses โดยรัฐภาคีว่ามีอยู่อย่างไรและอะไรน่าจะเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องดังกล่าวเพื่อแก้ไขในปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งจากผลการศึกษาจะทำให้เห็นว่าแนวทางที่ดีที่สุดในการหาทางออกให้กับปัญหาในเรื่องของการตีความและการใช้หลัก Exclusion Clauses รัฐควรจะต้องคำนึงหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องประกอบกับคำแนะนำของ UNHCR อันเป็นองค์กรที่ความชำนาญเกี่ยวกับผู้ลี้ภัยโดยเฉพาะเพื่อให้รัฐภาคีสามารถหาแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับผู้ลี้ภัยที่ถูกต้องเหมาะสมและก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ลี้ภัยen
dc.description.abstractalternativeDespite the changing of the world, the refugee problem remains prolonged and unsolvable predicament which occurs in every corner of the world. How to manage to eliminate such problem requires a wide range of factors - most importantly, governmental awareness towards the problem altogether with its responsibility and policies. Exclusion Clauses are an important regulation and are mentioned quite often in regard to refugee management. Although the clauses are legislated by the Convention Relating to the Status of Refugees 1951 - the Convention stating the measures of concerning protection - the clauses, nonetheless, have no contents which demonstrate such protection but are rather provision on exclusion of action. Application of the Convention by member States sometimes results in some troubles arising from various factors due to numerous modalities giving power to the member States to put the clauses into act on without appropriate channels. These factors relentlessly affect refugees at the present time. Despite the changing of the world. the refugee problem remains prolonged andunsolvable predicament which occurs in every corner of the world. How to manage to eliminate such problem requires a wide range of factors - most importantly. governmental awareness towards the problem altogether with its responsibility and policies. Exclusion clauses are an important regulation and are mentioned quite ofter in regard to refugee management. Although the clauses are legislated by the convention relating to the status of refugees 1951 - the convention stating the measures of concerning protection - the clauses, nonetheless, have no contents which demonstrate such protection but are rather provision on exclusion of action. Application of the convention by member states sometimes results in some trobles arising from various factors fue to numerous motialities giving power to the member state to put the clauses into ac on without appropriate channels. These factors relentlessly affect refugees at the preseen time. As mentioned above, this thesis therefore attempts to expose 1) how problems exist when using exclusion clauses by the member states, and 2) what could enable them to overcome such problems. We can see from the study that the best solution to the interpretation and the utilization of exclusion clauses is that the government should take related international law into consideration under the guidance of UNHCR, a dexterous organization dealing with refugees, in order that they may find suitable option for refugees creating the most benefits for them.en
dc.format.extent2660755 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.291-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผู้ลี้ภัยen
dc.subjectกฎหมายระหว่างประเทศen
dc.subjectอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย 1951-
dc.subjectปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน 1948-
dc.subjectRefugees-
dc.subjectInternational law-
dc.titleปัญหาและลู่ทางการใช้ข้อบัญญัติการไม่ให้สถานภาพผู้ลี้ภัย (หลัก Exclusion Clause) ตามอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพของผู้ลี้ภัย 1951en
dc.title.alternativeProblems and directions concerning the application of the provision on exclusion of refugee status under the convention relating to the status of refugees 1951en
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVitit.M@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.291-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
anugool_bu.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.