Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21485
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิติยวดี บุญซื่อ-
dc.contributor.advisorประคอง สุทธสาร-
dc.contributor.authorเพ็ญแข สุภีกิตย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-08-17T07:01:00Z-
dc.date.available2012-08-17T07:01:00Z-
dc.date.issued2526-
dc.identifier.isbn9745626511-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21485-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526en
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจปัญหาการอ่านของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่สอง ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เขนปทุมวัน ตัวอย่างประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่สองที่มีปัญหาในการอ่าน ตั้งแต่ 3 ปัญหาขึ้นไปตามการระบุของครูผู้สอนวิชาภาษาไทย ในโรงเรียนทั้ง 9 โรง ของเขตปทุมวัน เป็นจำนวนทั้งสิ้น 75 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสำรวจปัญหาการอ่าน ซึ่งผู้วิจัยได้ดัดแปลงมาจากแบบตรวจสอบข้อบกพร่องในการอ่านออกเสียงและการอ่านในใจของ มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์ และแบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านของนักเรียนเป็นรายบุคคล 1 ชุด แบ่งออกเป็น 2 ตอนคือ แบบทดสอบการอ่านออกเสียงและแบบทดสอบการอ่านในใจโดยผู้วิจัยเป็นผู้สร้างขึ้นเอง ผู้วิจัยได้นำเครื่องมือไปใช้กับตัวอย่างประชากรเป็นรายบุคคลทั้ง 75 คน โดยใช้เวลาในการสำรวจ 23 วัน ทดสอบโรงเรียนละ 1-2 วัน จากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้มาประมวลและวิเคราะห์โดยจัดหมวดหมู่ปัญหาการอ่านของนักเรียนแต่ละคนด้วยการหาค่าความถี่ของปัญหาคิดเป็นร้อยละของนักเรียนที่มีปัญหาการในแต่ละโรง ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาการอ่านทั้ง 24 ปัญหาที่ผู้วิจัยนำมาตั้งเป็นเกณฑ์ในการสำรวจการอ่านของเด็กเป็นรายบุคคลนั้น เป็นปัญหาที่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ทั้ง 9 โรง ในเขตปทุมวันประสบทั้งสิ้น ปัญหาที่พบมากที่สุดได้แก่ การอ่านออกเสียง ร ล ไม่ชัดมีถึงร้อยละ 97.33 รองลงมาคือ การอ่านออกเสียงพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ผิดเพี้ยนมีร้อยละ 93.33 ปัญหาอันดับ 3 ได้แก่ การอ่านช้าตะกุกตะกัก อ่านไม่คล่อง อ่านโดยใช้วิธีสะกดคำและอ่านผิดวรรคตอน แบ่งวรรคตอนไม่ถูก มีร้อยละ 86.67 ปัญหาอันดับ 4 ได้แก่ การอ่านคำควบกล่ำไม่ถูกมีร้องละ 84.00 ปัญหาอันดับ 5 ได้แก่ การอ่านโดยใช้นิ้วชี้ไปตามตัวอักษรมีร้อยละ 82.67 ส่วนปัญหาการอ่านในด้านอื่น ๆ อีก 16 ปัญหาจะอยู่ในระหว่างร้อยละ 69.33-10.67 และปัญหาอันดับสุดท้ายซึ่งพบบ้าง แต่น้อยที่สุดได้แก่ การอ่านเพิ่ม การเติมหรือแทรกคำเข้าไปและปัญหาการอ่านไม่ชัดเนื่องจากอวัยวะออกเสียงผิดปกติมีเพียงร้อยละ 9.33-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to survey the problems in reading of prathom suksa two students in 9 schools under the Auspices of Bangkok Metropolitan Administration. The samples of this research were 75 students of such schools who were reported by their own teachers as having more than 3 problems in reading deficiency. The instruments used in this study were the Problems Investigation Check-list adapted from A Composite list of Oral and Silent Reading Deficiencies set up by Mrs.Maneerat Sukchotrat, and a set of Individual Reading Ability Test, composed of Oral Reading, constructed by the researcher herself. 75 students were tested individually by the researcher from 1-2 days in each school within 23 days. After the investigating period the data collected were computed and classified in terms of frequency of the problems and percentage of the samples reading deficiency. Findings: According to the 24 problems, the researcher set up as criterion for investigating the students’ deficiency in reading, the data indicated that the prothom suksa two students from all 9 schools were facing those 24 problems in reading. The most common problem was the differentiation between r and l sound which was as high as 97.33 percent. Next common problem was the articulation of the phonemes and also tone accuracy was as high as 93.33 percent. Third problem was stuttering, slow reading, reading by spelling and mispunctuating which was 86.67 percent. The fourth problem was the articulation of consonant blending sound which was 84 percent. And the fifth problem was pointing reading along while 82.67 percent. The other 16 problems which were seldom found with only 9.33 percent were additioning of words and mispronouncing according to the malfunction of the vocal organs.-
dc.format.extent531431 bytes-
dc.format.extent561489 bytes-
dc.format.extent2045554 bytes-
dc.format.extent587238 bytes-
dc.format.extent479252 bytes-
dc.format.extent831929 bytes-
dc.format.extent1985799 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการอ่านขั้นประถมศึกษา-
dc.titleปัญหาการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่สอง ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เขตปทุมวันen
dc.title.alternativeProblems in reading of prathom suksa two students in schools under the auspices of Bangkok Metropolitan administration in Pathum Wan Districten
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Penkare_Su_front.pdf518.98 kBAdobe PDFView/Open
Penkare_Su_ch1.pdf548.33 kBAdobe PDFView/Open
Penkare_Su_ch2.pdf2 MBAdobe PDFView/Open
Penkare_Su_ch3.pdf573.47 kBAdobe PDFView/Open
Penkare_Su_ch4.pdf468.02 kBAdobe PDFView/Open
Penkare_Su_ch5.pdf812.43 kBAdobe PDFView/Open
Penkare_Su_back.pdf1.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.