Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21616
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิบูลศรี วาสนสมสิทธิ-
dc.contributor.authorศรีพัฒนา สุมะนังกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-08-20T08:45:38Z-
dc.date.available2012-08-20T08:45:38Z-
dc.date.issued2525-
dc.identifier.isbn9745603331-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21616-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดีของเยาวชนในสถานฝึกและอบรมของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลางและในโรงเรียนรัฐบาล เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาการสอนสังคมศึกษาที่จะส่งเสริมให้เยาวชนมีความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดีอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้วิจัยได้ตั้งสมมุติฐานว่าความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดีของเยาวชนในสถานฝึกและอบรมของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลาง และในโรงเรียนรัฐบาลแตกต่างกัน วิธีดำเนินการวิจัย เครื่องมือที่ใช้สำหรับการวิจัยคือแบบสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดีที่สร้างขึ้นเอง เป็นแบบเลือกตอบ (Multiple Choice) จำนวน 60 ข้อ มีค่าสัมประสิทธิแห่งความเนี่ยงเท่ากับ 0.813 และแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคลและสภาพแวดล้อมทางบ้าน ตัวอย่างประชากรเป็นเยาวชนชายทั้งหมด 100 คน ซึ่งอยู่ในสถานฝึกและอบรมของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลางและสุ่มตัวอย่างประชากรอย่างง่ายที่เป็นนักเรียนชายและหญิง จำนวน 100 คน จากโรงเรียนรัฐบาล 5 โรงเรียน นำข้อมูลที่ได้จากแบบสอบความเข้าใจมาหาค่าร้อยละ คะแนนเฉลี่ย (X̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดีระหว่างเยาวชนทั้ง 2 กลุ่ม ด้วยการหาค่าที (t-test) ส่วนผลที่ได้จากแบบสอบถามสถานภาพของเยาวชนใช้วิธีหาค่าร้อยละ ผลการวิจัย 1. เยาวชนในสถานฝึกและอบรมของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลาง ได้คะแนนเฉลี่ยต่ำกว่าเยาวชนในโรงเรียนรัฐบาล 2. เยาวชนในสถานฝึกและอบรมของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลางและในโรงเรียนรัฐบาล มีความเข้าใจน้อยเกี่ยวกับการเมืองและการปกครองระบอบประชาธิปไตย นอกจากนั้นเยาวชนในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลางยังมีความเข้าใจน้อยเกี่ยวกับเรื่องการอยู่ร่วมกันในชุมชนและขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม 3. เยาวชนในสถานฝึกและอบรมของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลาง และในโรงเรียนรัฐบาลมีความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดีแตกต่างกันอย่างมีระดับความมีนัยสำคัญที่ .05
dc.description.abstractalternativePurpose: The purpose of this research was to study and to compare the understanding of citizenship among youth in Training Schools of the Central Observation and Protection Center and in government schools. The ultimate purpose of this research was to propose recommendation concerning the methods of teaching social studies in order to foster an effective understanding of citizenship. This research was based on the hypothesis that the understanding of social responsibility of youth from the two institutions were different. Procedures: The instruments used for this research were a test to measure the understanding of good citizenship and a questionnaire concerning personal status and home environmental conditions. The test, developed by the researcher, included 60 multiple choice items. Its reliability was 0.813. The subjects for this research included the total amount of 100 students in the Training Schools of the Central Observation and Protection Center and 100 students of both sexes randomly selected from 5 government schools. The test scores of all samples were analyzed through means, standard deviations and the t-test. The answers from the questionnaire were computed by percentages. Finding: 1. Youth in the Training Schools of the Central Observation and Protection Center obtained lower test scores than youth in the government schools. 2. Both youth groups, in the Training Schools of the Central Observation and Protection Center and in the government schools, showed little understanding of politics and of a democratic system of government. Furthermore, youth in the Training Schools of the Central Observation and Protection Center showed a poor understanding of what it means to be part of social group and of customs, traditions and culture. 3. The difference in level of understanding the meaning of good citizenship between the two groups of youth in this study was significant at the .05 level.
dc.format.extent530598 bytes-
dc.format.extent986119 bytes-
dc.format.extent2260026 bytes-
dc.format.extent417635 bytes-
dc.format.extent568832 bytes-
dc.format.extent1137824 bytes-
dc.format.extent1917032 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectหน้าที่พลเมือง
dc.subjectเยาวชน
dc.titleการเปรียบเทียบความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดี ของเยาวชนในสถานฝึกและอบรมของสถานพินิจและคุ้มครองเด็กกลาง และในโรงเรียนรัฐบาลen
dc.title.alternativeA comparison of the understanding of citizenship among youth in training schools of thee cnetral observation and protection center and in governmental schoolsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineมัธยมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sripatana_Su_front.pdf518.16 kBAdobe PDFView/Open
Sripatana_Su_ch1.pdf963.01 kBAdobe PDFView/Open
Sripatana_Su_ch2.pdf2.21 MBAdobe PDFView/Open
Sripatana_Su_ch3.pdf407.85 kBAdobe PDFView/Open
Sripatana_Su_ch4.pdf555.5 kBAdobe PDFView/Open
Sripatana_Su_ch5.pdf1.11 MBAdobe PDFView/Open
Sripatana_Su_back.pdf1.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.