Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนทร บุญญาธิการ-
dc.contributor.authorเทียนชัย อ่อนอ้วน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-09-25T08:37:07Z-
dc.date.available2012-09-25T08:37:07Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22177-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractปัจจุบันโลกได้มีการพัฒนามาสู่ยุคอุตสาหกรรม โดยมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย วิทยาศาสตร์ที่ก้าวไกล ทำให้เราได้นำเทคโนโลยีมาช่วยในการตอบสนองต่อความสะดวกสบายอย่างสมบูรณ์แบบ โดยการได้มาซึ่งความสะดวกสบายที่แลกมาด้วยการทำลายธรรมชาติ จนก่อให้เกิดปัญหา “สภาวะโลกร้อน” จากปัญหาดังกล่าว ก่อให้เกิดสภาพอากาศที่ร้อนสูงขึ้นทุกๆปี ซึ่งส่งผลกระทบต่อการอยู่อาศัยอย่างมาก จากอุณหภูมิอากาศ 37℃-35℃ ท้องฟ้า -20℃- -3℃และจากดิน 27℃-25℃ โดยศึกษาจากอาคารขนาดเล็ก พื้นที่ 80 ตรม. มีผู้ใช้งาน 3 คน พร้อมด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้าและสิ่งอำนวยความสะดวกเบื้องต้น โดยใช้หลังคาดักความเย็นบนพื้นที่ 20 ตรม. จะพบว่าหลังพระอาทิตย์พ้นขอบฟ้า ช่วงเวลา 09.00 น.เป็นช่วงเวลาเริ่มเปลี่ยนของอุณหภูมิที่สูงขึ้นจาก อุณหภูมิ 25℃ จนสูงสุดที่ 37℃ ในช่วงเวลา 15.00 น.และเริ่มลดลงที่ 25℃ ในช่วงเวลา 19.00 น. รวมเวลา 10 ชั่วโมง โดยทำให้การรั่วซึมของอากาศร้อนผ่านรอยต่อและเปลือกอาคาร เข้าสู่อาคาร ประมาณ 3 BTU/SF.Hr ซึ่งถือว่าเป็นช่วงเวลาที่จะต้องปิดช่องเปิดต่างๆ เพื่อเป็นการป้องกันความร้อน และหลังพระอาทิตย์ลับขอบฟ้าจะพบว่าอุณหภูมิภายในอาคารได้แบ่งเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงอุณหภูมิที่สูงเกิน 25℃ และต่ำกว่า 25℃ โดยช่วงแรก เวลา 12.00-22.00 น. อุณหภูมิอยู่ที่ 27℃-25℃ โดยอุณหภูมิสูงสุดของวันอยู่ที่ 27℃ เวลา 18.00 น. และอุณหภูมิต่ำสุดของวันยู่ที่ 22℃ ช่วงเวลา 05.00 น. โดยช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเปิดรับความเย็นจากการแลกเปลี่ยนความร้อนจากท้องฟ้าของหลังคา คือ ช่วงเวลาตั้งแต่เวลา 19.00 น.-08.00 น. รวมเวลา 14 ชม. โดยการเปิดช่อง ขนาด 0.80x1.80 ม. เพื่อให้ความเย็นที่ดักไว้บนหลังคาทะลักลงสู่อาคาร ซึ่งได้ความเย็นเทียบเท่า 1,500 BTU/SF.Hr รวมถึงการได้ความเย็นจากดิน 25℃ การปรุงแต่งสภาพแวดล้อมโดยการปลูกต้นไม้สูงด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ เพื่อไม่ให้แสงแดดโดนเปลือกอาคารและการเปิดช่องแสง และทางเข้าหลักทางด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ถือว่าเป็นการเอื้อประโยชน์ต่อการสร้างความรู้สึกเย็นให้แก่อาคาร โดยมีภาระความเย็นของอาคารรวม 9,000 BTU/SF.Hr ซึ่งผู้อาศัยสามารถอยู่ได้ได้สบายโดยไม่ต้องใช้เครื่องปรับอากาศ ซึ่งนับได้ว่าเป็นการแก้ปัญหาสภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน และแก้วิกฤตพลังงานของประเทศชาติในอนาคตด้วยระบบทุนธรรมชาติอย่างยั่งยืนen
dc.description.abstractalternativeThe world is now in an industry age utilizing modern technology and highly advanced science. However, we use technology to help meet our needs for convenience and comfort often at the expense of nature, resulting in global warming. The climate is becoming increasingly warmer every year, which has a significant impact on our lives. The study was conducted from 29-30 March, 2012, for a total of 36 hours, with a cooling roof of 20 square meters in area. It was found that after sunrise, the temperature would begin to rise at 9.00 hrs. from 25°C and peak at 37°C at 15.00hrs. Then it would decrease back down to 25°C starting at about 19.00 hrs. over ten hours. The hot air would enter the house through seams in building shell at about 3 BTU/SF/HR. This is the period during which various openings should be closed to prevent heat from entering. After sunset, the temperature inside the building could be separated into two periods: one during which the temperature was over 25°C and the other, under 25°C. The former period was between 12.00-22.00 hrs. with temperatures between 27°C-25°C, the day’s highest being 27°C at 18.00 hrs. and the lowest 22°C at 05.00 hrs. The period suitable for opening up the building to receive the coolness from heat exchange outside of the roof was from 19.00 hrs. to 08.00 hrs., a total of 14 hrs. This was done through an opening of 0.80x1.80 meters in size to let the coolness trapped on the roof enter into the building, which received a total of 21,000 BTU of coolness as well as coolness of 25°C from the ground. Also contributing to the cooling of the building were an adjustment of the surroundings by growing tall trees to the southwest so the sunlight would not reach the building shell and opening the skylight and having the main entrance in the north and northeast. This can be considered a sustainable way to help alleviate the current problem of global warming as well as the country’s energy dependency in the future through a system of natural capital.en
dc.format.extent9221150 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสถาปัตยกรรมกับภูมิอากาศen
dc.subjectอาคาร -- การระบายอากาศen
dc.subjectการออกแบบสถาปัตยกรรมen
dc.subjectArchitecture and climateen
dc.subjectBuildings -- Ventilationen
dc.subjectArchitectural designen
dc.titleนวัตกรรมการสร้างความรู้สึกเย็นในอาคาร จากท้องฟ้า ดินและสภาพแวดล้อมen
dc.title.alternativeAn innovative of cooling sensation in building from sky radiation earth contact and surroundingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSoontorn.B@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
thianchai_on.pdf4.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.