Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22672
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ้ง ศรีอัษฎาพร-
dc.contributor.authorตรรกะ เทศศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-10-16T03:14:06Z-
dc.date.available2012-10-16T03:14:06Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22672-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจสภาพปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนา ค้นหาดรรชนีชี้วัดความสามารถในการสื่อสาร และกำหนดยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันอุตสาหกรรมการจัดประชุมและนิทรรศการเชิงสร้างสรรค์ของไทย ผู้วิจัยดำเนินการศึกษาโดยเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณ์เจาะลึกผู้บริหารและพนักงานอาวุโสในองค์กรรัฐและเอกชนด้านการจัดประชุมและนิทรรศการ (MICE) จำนวน 24 คน และ เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพเพิ่มเติมจากการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมในทีมสร้างสรรค์การจัดงานจริง จากนั้นผู้วิจัยนำข้อมูลเชิงคุณภาพมาสร้างแบบสำรวจความคิดเห็นเพื่อเก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากบุคลากรที่ทำงานในภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ MICE จำนวน 264 คน ผลการศึกษาวิจัยพบว่าอุปสรรคต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมการจัดประชุมและนิทรรศการเชิงสร้างสรรค์ของไทยที่พบว่าเป็นปัญหามากที่สุดไปจนถึงน้อยที่สุด ได้แก่ 1) ด้านการบริหารจัดการ 2) ด้านนโยบาย 3) ด้านจริยธรรม 4) ด้านการสื่อสาร และ 5) ด้านคุณภาพ ตามลำดับ ดรรชนีชี้วัดความสามารถในการสื่อสารเพื่อพัฒนาการจัดประชุมและนิทรรศการเชิงสร้างสรรค์มีทั้งหมด 36 ดรรชนี ประกอบด้วยดรรชนีชี้วัดระดับบุคคล 13 ดรรชนี (ได้แก่ การเปิดรับความคิดสร้างสรรค์ของผู้อื่น ความสามารถในการแสดงความคิดเห็นและสร้างการยอมรับจากผู้อื่น และความสามารถในการนำเสนองานให้น่าสนใจแก่ลูกค้า เป็นต้น) ดรรชนีชี้วัดระดับกลุ่ม 12 ดรรชนี (ได้แก่ ความสามารถในการรับรู้และเข้าใจในความต้องการของผู้จัดงานร่วมกันในทีม ความสามารถในการระดมความคิดสร้างสรรค์ได้หลากหลายในทีม และความสามารถใช้เหตุผลร่วมกันในทีมเพื่อหาข้อสรุป เป็นต้น) และดรรชนีชี้วัดระดับองค์กร 11 ดรรชนี (ได้แก่ ความสามารถในการสร้างบรรยากาศการสื่อสารที่ให้อิสระเปิดกว้างทางความคิดภายในองค์กร โครงสร้างการสื่อสารตามลำดับสายการบังคับบัญชาไม่ซับซ้อน และวัฒนธรรมการสื่อสารในองค์กรที่ให้คุณค่าและความสำคัญต่อความคิดสร้างสรรค์ เป็นต้น)ยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันเชิงสร้างสรรค์ ประกอบด้วย ยุทธศาสตร์การสื่อสารด้านการดึงงานระดับโลกมาจัดในประเทศ ยุทธศาสตร์การสื่อสารด้านการพัฒนาปัจจัยสนับสนุนการสร้างสรรค์ของอุตสาหกรรม และ ยุทธศาสตร์การสื่อสารด้านการประชาสัมพันธ์ให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักในฐานะแหล่งการจัดประชุมและนิทรรศการเชิงสร้างสรรค์ที่น่าสนใจในระดับโลกen
dc.description.abstractalternativeThis study was aimed to examine the problems and factors affecting Thailand’s competitive advantage of MICE industry. Also, the study explored indicatives of communication competence at the industrial level and determined communication strategies in gaining competitive advantage of Thailand’s Creative MICE. Employing qualitative and quantitative research methodologies, the researcher conducted 24 in-depth interviews with executives and senior employees in public and private MICE organizations. Additional qualitative data were collected from the researcher’s participant observation in an actual creative MICE team. Utilizing such qualitative data, the researcher developed a survey questionnaire for collecting additional quantitative data from 264 participants who worked in public and private sectors of MICE industry. Results of this study revealed that managerial and administrative system of MICE was found to be the most problematic issue existing in Thailand|'s MICE industry, followed by problems revolving around national policy of MICE, ethical practices, communication problems, and work quality, respectively. Secondly, 36 indicatives of communication competence for Thailand|'s creative MICE were reported and organized into three categories. Specifically, 13 items were identified to be indicatives of communication competence at the individual level (e.g., openness in creative communication), 12 items to be indicatives of communication competence at the group level (e.g., ability to develop mutual understanding between MICE organizers and clients), and 11 items to be indicatives of communication competence at the organizational level (e.g., ability to develop positive and open-minded communication climate within the organization). Finally, the researcher proposed communication strategies along with the line of TCEB’s strategies “to win,” “to develop,” and “to promote” for competitive advantage of Thailand’s Creative MICE.en
dc.format.extent3130670 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.918-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสื่อสารen
dc.subjectการแข่งขันทางการค้าen
dc.subjectการพัฒนาอุตสาหกรรมen
dc.subjectการประชุมen
dc.subjectนิทรรศการen
dc.titleยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันอุตสาหกรรมการจัดประชุม และนิทรรศการเชิงสร้างสรรค์ของไทยen
dc.title.alternativeCommunication strategy for competitive advantage of Thailand's creative MICE industryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorRoong.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.918-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
taka_te.pdf3.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.