Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22729
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาวเลิศ เลิศชโลฬาร-
dc.contributor.authorอรุณีศิริ คงธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-10-19T02:47:11Z-
dc.date.available2012-10-19T02:47:11Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn9745661988-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22729-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการเสนอเนื้อหาในหนังสือการ์ตูน กับระดับความสามารถด้านความเข้าใจในการอ่าน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนโรงเรียนพญาไท จำนวน 180 คน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2528 ซึ่งผ่านการทดสอบวัดความสามารถด้านความเข้าใจในการอ่าน ของสำนักทดสอบทางการศึกษากรมวิชาการจากนั้นจึงจัดกลุ่มตัวอย่าง เป็น 3 ระดับ คือกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับความสามารถด้านความเข้าใจในกรอ่านสูง (1) ปานกลาง (2) และต่ำ (3) ระดับละ 60 คน จากนั้นจึงนำหนังสือการ์ตูนให้กลุ่มตัวอย่างทั้ง 3 ระดับศึกษา ซึ่งหนังสือการ์ตูนที่ศึกษามี 3 รูปแบบ คือแบบบรรยาย แบบสนทนา และแบบสนทนาร่วมกับแบบบรรยาย หลังจากศึกษาจากหนังสือการ์ตูนแล้วทำการทดสอบทันที แล้วนำคะแนนที่ได้จากการทดสอบมาทำการวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบสองทางเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของกลุ่มตัวอย่าง สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่ามีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มตัวอย่าง ที่มีระดับความสามารถด้านความเข้าใจในการอ่านกลุ่มสูง กลุ่มปานกลาง และกลุ่มต่ำ กับรูปแบบการเสนอเนื้อหาในหนังสือการ์ตูนแบบบรรยาย แบบสนทนา และแบบสนทนาร่วมกับแบบบรรยายแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 โดยกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับความสามารถด้านความเข้าใจในการอ่านสูงเรียนได้ดีที่สุดในหนังสือการ์ตูนที่มีวิธีเสนอเนื้อหาแบบสนทนา กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับความสามารถด้านความเข้าใจในการอ่านปานกลางเรียนได้ดีที่สุดในหนังสือการ์ตูนที่มีวิธีเสนอเนื้อหาแบบบรรยาย และกลุ่มตัวอย่างที่มีระดับความสามารถด้านความเข้าใจในการอ่านคำ เรียนได้ดีที่สุดในหนังสือการ์ตูนที่มีวิธีเสนอเนื้อหาแบบสนทนาร่วมกับแบบบรรยาย และพบว่า ความสามารถด้านความเข้าใจในการอ่าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01 แต่รูปแบบการเสนอเนื้อหาในหนังสือการ์ตูนทั้ง 3 แบบ คือ แบบบรรยาย แบบสนทนา และแบบสนทนาร่วมกับแบบบรรยายไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติ-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the interaction of content approaches in cartoon books and levels of reading comprehension ability upon the cognitive learning achievement of Prathom Suksa four students. The subjects were one hundred and eighty Prathom Suksa four students of the Payathai School and were comprised of high, medium and low reading comprehension abilities of sixty subjects in each group. They were randomly assigned into three experimental groups. The first experimental group learned from cartoon books with only narration, the second group learned from cartoon books with only dialogue, and the third group learned from cartoon books with the combination of both dialogue and narration. Following immediately after the lesson the subjects were given a learning achievement test. The data from these tests were then processed statistically by using two-way analysis of variance. Results : The results of the study indicated that there was an interaction between the groups of the high, medium and low level of reading comprehension ability and the content approaches in the narration, the dialogue and the combine narration-dialogue cartoon books at the 0.05 level of confidence. The high level of reading comprehension group learned best from the dialogue-cartoon books, the medium group learned best from the narration-cartoon books and the low group learned best from the combination of both dialogue and narration cartoon books. It was found that the reading comprehension ability was significantly difference at the 0.01 level of confidence but that there was no significantly difference between the three formats of content approaches themselves-
dc.format.extent392313 bytes-
dc.format.extent330372 bytes-
dc.format.extent791999 bytes-
dc.format.extent295056 bytes-
dc.format.extent380838 bytes-
dc.format.extent380463 bytes-
dc.format.extent573338 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleปฏิสัมพันธ์ของรูปแบบการเสนอเนื้อหาในหนังสือการ์ตูน กับระดับความสามารถด้านความเข้าใจในการอ่าน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4en
dc.title.alternativeThe interaction of content approaches in cartoon books and levels of reading comprehension ability upon the cognitive learning achievement of prathom suksa four studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
aruneesiri_ko_front.pdf383.12 kBAdobe PDFView/Open
aruneesiri_ko_ch1.pdf322.63 kBAdobe PDFView/Open
aruneesiri_ko_ch2.pdf773.44 kBAdobe PDFView/Open
aruneesiri_ko_ch3.pdf288.14 kBAdobe PDFView/Open
aruneesiri_ko_ch4.pdf371.91 kBAdobe PDFView/Open
aruneesiri_ko_ch5.pdf371.55 kBAdobe PDFView/Open
aruneesiri_ko_back.pdf559.9 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.