Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23925
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิดานันท์ มลิทอง
dc.contributor.authorขจิตพรรณ จันทรสาขา
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-13T08:43:32Z
dc.date.available2012-11-13T08:43:32Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.isbn9741732821
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23925
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความจำเป็นและความต้องการนวัตกรรมสื่อการเรียนการสอนในการปฏิรูปการศึกษา ของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร ขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่ และขนาดกลางและเล็ก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบความแตกต่างโดยวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า ครูส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่า นวัตกรรมสื่อการเรียนการสอน มีความจำเป็นในการปฏิรูปการศึกษา ในระดับปานกลาง และครูมีความต้องการคอมพิวเตอร์ โปรแกรมนำเสนอ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เครื่องเล่นซีดีและดีวีดี การเรียนการสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์ การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนการสอนแบบบูรณาการ การฝึกปฏิบัติจริง อินเทอร์เน็ตเครือข่าย Schoolnet และ การใช้ดาวเทียมถ่ายทอดการเรียนการสอน ในระดับมาก นอกจากนั้นมีความต้องการในระดับปานกลาง ครูโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่ และขนาดกลางและขนาดเล็ก มีความคิดเห็นเกี่ยวกับความจำเป็นของนวัตกรรมสื่อการเรียนการสอน ทั้งประเภทวัสดุและอุปกรณ์และประเภทวิธีการส่วนใหญ่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนความคิดเห็นเกี่ยวกับความต้องการนวัตกรรมสื่อการเรียนการสอน ทั้งประเภทวัสดุและอุปกรณ์และประเภทวิธีการส่วนใหญ่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study and compare the essentiality and needs in instructional media innovation in educational reform of teacher in Secondary School of General Education Department in Bangkok Metropolitan. The samples of the study were 400 teachers, 25 administrators. Research instruments were questionnaires and interviewing forms. The data were analyzed by percentage, median, standard deviation and One-Way ANOVA analysis. The findings revealed that: Most teachers commented that the instructional media innovation was essential in educational reform in the medium level. The most serious needs concerning the use of instructional media innovation of teachers found in the study were computer, presentation program, CAI, VCD/DVD player, group process, collaborative learning, laboratory, internet, schoolnet and DTH. There were no statistically significant differences at the 0.05 level of significance among most opinions of the teachers in extra large, large, medium and small schools concerning the necessity but there were statistically significant differences at the 0.05 level of significance among most opinions of the teachers concerning the needs in instructional media innovation in educational reform.
dc.format.extent2954679 bytes
dc.format.extent4788719 bytes
dc.format.extent21012955 bytes
dc.format.extent2289487 bytes
dc.format.extent11493209 bytes
dc.format.extent6909317 bytes
dc.format.extent13968952 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการศึกษาความจำเป็นและความต้องการนวัตกรรมสื่อการเรียนการสอน ในการปฏิรูปการศึกษาของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeA study of necessity and needs in instructional media innovation in educational reform of Secondary School Teachers Under the General Education Department, Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Khachitpan_ch_front.pdf2.89 MBAdobe PDFView/Open
Khachitpan_ch_ch1.pdf4.68 MBAdobe PDFView/Open
Khachitpan_ch_ch2.pdf20.52 MBAdobe PDFView/Open
Khachitpan_ch_ch3.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open
Khachitpan_ch_ch4.pdf11.22 MBAdobe PDFView/Open
Khachitpan_ch_ch5.pdf6.75 MBAdobe PDFView/Open
Khachitpan_ch_back.pdf13.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.