Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24042
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปรัจยา วุฒิอาภรณ์
dc.contributor.authorสุมน อมรวิวัฒน์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-14T04:10:30Z
dc.date.available2012-11-14T04:10:30Z
dc.date.issued2527
dc.identifier.issn9745640301
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24042
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนาเกณฑ์การประเมินโรงเรียนประถมศึกษาสำหรับสภาพท้องถิ่นในเขตการศึกษาแปด วิธีดำเนินการวิจัย สร้างแบบเกณฑ์การประเมินโรงเรียนประถมศึกษาสำหรับสภาพท้องถิ่นในเขตการศึกษาแปดขึ้น 1 ชุด ส่งให้กลุ่มตัวอย่างประชากรซึ่งเป็นผู้บริหารการประถมศึกษาอำเภอหรือหัวหน้าการประถมศึกษาอำเภอ จำนวน 24 คน, อาจารย์ใหญ่ จำนวน 188 คน และครูฝ่ายปฏิบัติการสอน จำนวน 184 คน ในเขตการศึกษาแปดซึ่งมี 8 จังหวัดประกอบด้วยจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง ลำพูน แพร่ น่าน พะเยา และจังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบง่ายและได้รับข้อมูลกลับคืนมาดังนี้ กลุ่มผู้บริหารการประถมศึกษาอำเภอ จำนวน 24 คน กลุ่มอาจารย์ใหญ่จำนวน 181 คน และกลุ่มครูฝ่ายปฏิบัติการสอนจำนวน 177 คน ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ด้วยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที สรุปผลการวิจัย จากการเปรียบเทียบความเห็นในหมวดต่าง ๆ ในแบบเกณฑ์การประเมินโรงเรียนประถมศึกษาสำหรับสภาพท้องถิ่นในเขตการศึกษา 8 ของกลุ่มตัวอย่างประชากรทั้งสามกลุ่ม คือ กลุ่มผู้บริหารการประถมศึกษาอำเภอ กลุ่มอาจารย์ใหญ่ และกลุ่มครูฝ่ายปฏิบัติการสอนทั้งในอำเภอเขตเมืองและอำเภอเขตชนบท โดยการทดสอบค่าที ผลปรากฏว่ามีความเห็นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 เป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นจึงสามารถนำแบบเกณฑ์การประเมินโรงเรียนประถมศึกษาสำหรับสภาพท้องถิ่นในเขตการศึกษา 8 นี้ ไปจัดสร้างเป็นแบบเกณฑ์การประเมินโรงเรียนประถมศึกษาสำหรับสภาพท้องถิ่นในเขตการศึกษา 8 ได้รวม 155 ข้อกระทง โดยแยกเป็นหมวด ๆ ได้ดังนี้ 1. หมวดที่ 1 การจัดการเรียนการสอน 27 ข้อกระทง ซึ่งประกอบด้วย 1.1 การนำหลักสูตรไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน 10 ข้อกระทง 1.2 ความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนการสอน 9 ข้อกระทง 1.3 การจัดกิจกรรมทางวิชาการของโรงเรียน 8 ข้อกระทง 2. หมวดที่ 2 บริการและการจัดกิจการนักเรียน เพื่อสร้างเสริมพัฒนาการและประสบการณ์นักเรียน 30 ข้อกระทง ซึ่งประกอบด้วย 2.1 การบริการและโครงการที่ส่งเสริมพัฒนาการของนักเรียน 8 ข้อกระทง 2.2 บริการและโครงการที่เสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดีแก่นักเรียน 14 ข้อกระทง 2.3 บริการและโครงการที่เสริมสร้างให้นักเรียนเข้าใจสังคมได้ดี 8 ข้อกระทง 3. หมวดที่ 3 การบริหารโรงเรียน 40 ข้อกระทง ซึ่งประกอบด้วย 3.1 งานบริหารด้านบุคลากร 9 ข้อกระทง 3.2 งานบริหารด้านวิชาการ 8 ข้อกระทง 3.3 งานบริหารด้านอาคารสถานที่ 8 ข้อกระทง 3.4 งานบริหารด้านธุรการ, การเงินและพัสดุ 6 ข้อกระทง 3.5 งานบริหารด้านกิจการนักเรียน 9 ข้อกระทง 4. หมวดที่ 4 การสอนงานอาชีพในท้องถิ่น 38 ข้อกระทง ซึ่งประกอบด้วย 4.1 งานจักสาน 5 ข้อกระทง 4.2 งานประดิษฐ์เศษวัสดุในท้องถิ่น 5 ข้อกระทง 4.3 งานเกษตร 5 ข้อกระทง 4.4 งานอุตสาหกรรมในท้องถิ่น 4 ข้อกระทง 4.5 งานเลี้ยงสัตว์ 6 ข้อกระทง 4.6 งานตัดเย็บเสื้อผ้า 4 ข้อกระทง 4.7 งานบ้าน 4 ข้อกระทง 4.8 การตลาด 5 ข้อกระทง 5. หมวดที่ 5 ความสัมพันธ์กับชุมชน 20 ข้อกระทง ซึ่งประกอบด้วย 5.1 บทบาทของครูต่อชุมชน 6 ข้อกระทง 5.2 บทบาทของโรงเรียนที่ร่วมมือกับพลังกลุ่มต่าง ๆ ได้แก่ ชุมนุมศิษย์เก่า, กลุ่มหนุ่มสาว, กลุ่มแม่บ้าน, ลูกเสือชาวบ้าน, กรรมการศึกษาสมาคมครูผู้ปกครอง และกลุ่มไทยอาสาป้องกันชาติ เพื่อกิจกรรมของโรงเรียนและชุมชน 5 ข้อกระทง 5.3 กิจกรรมที่ทางโรงเรียนได้จัดร่วมกับชุมชน 9 ข้อกระทง ดังนั้นเกณฑ์ประเมินโรงเรียนประถมศึกษาสำหรับสภาพท้องถิ่นในเขตการศึกษา 8 ซึ่งเป็นผลการวิจัยนี้ จะมีลักษณะเฉพาะที่เป็นความต้องการของผู้เกี่ยวข้องกับการศึกษาของเขตการศึกษา 8 คือ ต้องการเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การสอนงานอาชีพในท้องถิ่น และการจัดบริการและการจัดกิจการนักเรียนเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ของนักเรียนประถมศึกษา
dc.description.abstractalternativePurposes The purpose of this study was the develop the Evaluative criteria of the elementary schools for local environment in the educational region 8. The elementary school evaluative instrument was developed, then the validation process was also initiated by randomly sending it out to 24 Heads of Amphur Elementary Education office, 188 elementary School principals, and 184 classroom teachers within the territory of the educational region 8 namely Chiang-Mai, Chiang-Rai, Lampang, Lampoon, Phrae Nan, Phayao, and Mae-Hong-Son provinces. The returns were from 24 Heads of Amphur Elementary Education office, 181 elementary school principals, and 177 classroom teachers. Then percentage, mean, standard deviation, and t-test were used to statistically analyze the obtained data. The study reveals that the attitude of the Head of Amphur Elementary Education office, elementary School principals and classroom teachers in the educational region 8 toward each part of the elementary school evaluative criteria is not statistically different at the .05 level of significance. It therefore assumed that this elementary school evaluative criteria can applicably be utilized to evaluate the elementary schools for local environment in the educational region 8. The 155 items elementary school evaluative instrument can be devided into 5 parts as follow. Part 1. Teaching and Learning Activities 27 items including 1.1 The curriculum implementation 10 items. 1.2 The appropriate teaching and learning activities 9 items. 1.3 The school academics activities 8 items. Part 2. Students personnel and services 30 items. Including 2.1 Students development project and services 8 items. 2.2 Students personal integrity Development project and services 14 items. 2.3 Students and the understanding of their society project and services 8 items. Part 3. School administration 40 items including 3.1 Personnel administration 9 items. 3.2 Academics administration 8 items. 3.3 Plant service administration 8 items. 3.4 General business administration 6 items. 3.5 Student personnel administration 9 items. Part 4. Local career teaching 38 items including 4.1 Handicraft 5 items 4.2 Local materials 5 items 4.3 Agricultural activities 5 items 4.4 Local industrial activities 4 items 4.5 Animal raising 6 items 4.6 Textile work 4 items 4.7 House keeping 4 items 4.8 Marketing 5 items Part 5. School and community relationship 20 items including 5.2 Teacher’s role in community development 6 items 5.2 The role of schools and the interest groups in the community such as the Alumnus, the young laymen, the Housewives, the Village Scouts, the school board, the Parent-teacher Association, and the Thai Volunteer for National Defense 5 items 5.3 The Activities created by schools and community group 9 items This evaluative criteria was based on the local needs with emphasis on teaching-learning activities, local career teaching, and student service. These were some tasks of the elementary school to develop practical experiences for the students in the educational region eight.
dc.format.extent778997 bytes
dc.format.extent982140 bytes
dc.format.extent3921628 bytes
dc.format.extent855066 bytes
dc.format.extent4525930 bytes
dc.format.extent2136506 bytes
dc.format.extent1740303 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการพัฒนาเกณฑ์การประเมินโรงเรียนประถมศึกษาสำหรับสภาพท้องถิ่น ในเขตการศึกษาแปดen
dc.title.alternativeThe development of evaluative criteria of the elementary schools for enviornment in the educational region eighten
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prajya_Wo_front.pdf760.74 kBAdobe PDFView/Open
Prajya_Wo_ch1.pdf959.12 kBAdobe PDFView/Open
Prajya_Wo_ch2.pdf3.83 MBAdobe PDFView/Open
Prajya_Wo_ch3.pdf835.03 kBAdobe PDFView/Open
Prajya_Wo_ch4.pdf4.42 MBAdobe PDFView/Open
Prajya_Wo_ch5.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open
Prajya_Wo_back.pdf1.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.